Table of Contents
การแถลงข่าวผลการประเมิน PISA 2018
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
การแถลงข่าวผลการประเมิน PISA 2018 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2562 เวลา 15.00 น. ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ชั้น 3 อาคารรัชมังคลาภิเษก กระทรวงศึกษาธิการ . รมว.กระทรวงศึกษาธิการ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ เป็นประธานงานแถลงข่าวผลการประเมิน PISA 2018 พร้อมด้วย รมช. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และ นางกนกวรรณ วิลาวัลย์ แถลงข่าวโดย นพ. ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ ประธานคณะกรรมการ PISA แห่งชาติ และ ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ ผู้อำนวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และรองประธานกรรมการสภาบริหารโปรแกรม PISA . ประเทศไทยได้เข้าร่วมโปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ซึ่งริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Cooperation and Development หรือ OECD) วัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของระบบการศึกษาในการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนมีศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นผู้ดำเนินงานโปรแกรม PISA ในประเทศไทยในฐานะศูนย์แห่งชาติ โดยประเมินนักเรียนอายุ 15 ปี ซึ่งเป็นวัยที่จบการศึกษาภาคบังคับ และดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุก 3 ปี เพื่อติดตามแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงคุณภาพการศึกษาและมุ่งให้ข้อมูลแก่ระดับนโยบาย . ผลการประเมิน PISA 2018 ในระดับนานาชาติ พบว่า นักเรียนจากจีนสี่มณฑล (ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เจียงซู และเจ้อเจียง) และสิงคโปร์ มีคะแนนทั้งสามด้านสูงกว่าทุกประเทศ/เขตเศรษฐกิจ สำหรับประเทศที่มีคะแนนสูงสุดห้าอันดับแรกในด้านการอ่านซึ่งเป็นด้านที่เน้นในรอบการประเมินนี้ ได้แก่ จีนสี่มณฑล สิงคโปร์ มาเก๊า ฮ่องกง และเอสโตเนีย สำหรับผลการประเมินของประเทศไทย นักเรียนไทยมีคะแนนเฉลี่ยในด้านการอ่าน 393 คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 487 คะแนน) คณิตศาสตร์ 419 คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 489 คะแนน) และวิทยาศาสตร์ 426 คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 489 คะแนน)
ติดตาม การสัมมนาออนไลน์ (webinar) ผลการประเมิน PISA 2018 จาก OECD https://youtu.be/IK3R_vnMWZ4
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ PISA ที่ https://youtu.be/y1IJfkW9hso และ pisathailand.ipst.ac.th\r
Category
People \u0026 Blogs
ครูวิทยาศาสตร์ PISA 2018
ถอดบทเรียน PISA 2018 โดยครูวิทยาศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการการถอดประสบการณ์การประเมิน PISA 2018 เพื่อเตรียมพร้อมประเมิน PISA 2022 ศูนย์ PISA สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
PRUEBAS PISA 2018: ¿Tenemos el peor sistema educativo del mundo?
Los resultados de las pruebas PISA para la evaluación internacional del estudiante son noticia en todos los países que son parte de esta prueba. Este 2 de Diciembre salieron los resultados del examen del año 2018, realizado a los alumnos de 15 años del sistema educativo de casi 80 países. La noticia en Perú, Colombia, Chile y otros latinoamericanos que participan en la prueba es, o bien que “tenemos el peor sistema educativo” si el país acaba de entrar a la prueba, o bien que “mejoramos” porque la prueba PISA nos muestra que ya no estamos en la penúltima posición.
Ambas deducciones son falsas. En PISA participan los mejores, cuando entramos estamos de últimos, cuando entran otros peores ya no estamos de últimos o sea, “mejoramos” según las noticias. Estamos a diez o veinte puestos del último gracias a que en las últimas dos versiones han entrado una decena de países por versión.
Para salir de estas falsas noticias, es necesario tener un panorama más amplio, que cubra a todos los países del mundo. En este informe mostramos una evaluación más universal de la posición comparativa del país, apoyándonos en los indicadores del Banco Mundial, que son indicadores de cubrimiento del sistema educativo a diversos niveles, no tanto indicadores de calidad, como sí lo es PISA.
Esta dicotomía entre calidad y cubrimiento es esencial al sistema educativo: la educación puede evaluarse por su calidad o por su cubrimiento. En el mundo y en la historia, los sistemas educativos del mundo han apostado bien por el cubrimiento, o bien por la calidad; y fluctúan alternativamente de uno a otro, según el problema que se haya vuelto el peor, porque, con mucha frecuencia, mejorar el uno implica empeorar el otro. Vemos ambos indicadores comparados, el de cubrimiento, que pondera los niveles que ya indicamos, y el de calidad, que promedia los tres indicadores de PISA: matemáticas, lectura y ciencias.
En conclusión, ¿qué tan buenos o malos son los sistemas educativos de nuestros países? Se encuentran a cierta distancia de los mejores sistemas educativos del mundo, pero están de acuerdo con nuestro niveles de desarrollo e ingreso. Nos comparamos con países árabes y la periferia europea. Ningún latinoamericano llega a los niveles de cubrimiento de los mejores excomunistas y el mejor, Argentina, sólo alcanza el nivel de los peores excomunistas: Serbia, Rumania, Moldavia.
Los latinoamericanos nos situamos en la sección baja del tercio superior del panorama de la calidad educativa mundial, tal como es posible medirlo en las pruebas estandarizadas. Pero al poner estas pruebas en contexto, la primera conclusión es que un esfuerzo en cubrimiento es más necesario que un esfuerzo en calidad, en particular observando el origen y desarrollo de las protestas en Chile. De manera secundaria se puede sacar la conclusión de que si hay que hacer algo en calidad, lo más necesario está en la formación matemática, más que en la lectura.
Y la otra conclusión que se puede sacar va en contra de las mediciones en general. En efecto, tal vez sea preferible una actitud más pragmática, como la suiza, que abandona la carrera por el primer puesto en las pruebas de calidad con tal de lograr un nivel de excelencia también en cubrimiento.
Esta actitud tendría varias ventajas para nuestros países: el cubrimiento parece un problema más importante que la calidad. Pero además, al privilegiar los resultados de pruebas estandarizadas, se disminuye la importancia de materias no estandarizables, como las ciencias sociales o las artes. Esto ya resulta particularmente preocupante si se evalúa, por ejemplo, contra el cuadrivium –el pénsum clásico romano y griego– cuyas actividades retóricas han sido completamente abandonadas en el pénsum actual. Algo similar está ocurriendo ya en las artes y ciencias sociales, debido en parte no despreciable, a la presión que ejercen las pruebas estandarizadas.
PISA 2018: How are students doing?
Andreas Schleicher highlights key findings from PISA 2018 – the test the whole world can take.
การสัมมนาออนไลน์ webinar ผลการประเมิน PISA 2018 จาก OECD conference
การสัมมนาออนไลน์ (webinar) ผลการประเมิน PISA 2018 จาก OECD เรื่อง Education performance, equity and wellbeing among students in Thailand เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2562 เวลา 16.00 น. ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ชั้น 3 อาคารรัชมังคลาภิเษก กระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินรายการและสรุปข้อมูลเป็นภาษาไทยโดย ดร.นัฏฐพร รุจิขจร จาก สสวท. . รมว.กระทรวงศึกษาธิการ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ เข้าร่วมการสัมมนาออนไลน์ อภิปรายซักถามและให้นโยบายเกี่ยวกับผลการประเมิน PISA2018 ร่วมกับ OECD และ นักการศึกษาจาก สสวท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หลังจากการแถลงข่าวผลการประเมิน PISA 2018 . ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำนงค์ ผู้อำนวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และรองประธานกรรมการสภาบริหารโปรแกรม PISA ⏩ 0:00 Dr.Tarek Mostafa, policy analyst, OECD Directorate for Education and Skills นำเสนอผลการประเมิน PISA2018 ของประเทศไทย ⏩ 20:23 สรุปข้อมูลผลการประเมินเป็นภาษาไทย โดย ดร.นัฏฐพร รุจิขจร จาก สสวท. ⏩ 23:40 รมว. ซักถาม ร่วมอภิปรายกับ OECD ประเด็นจำนวนชั่วโมงเรียน growth mindset และบทบาทของครูในการสนับสนุนการเรียนรู้ของเด็ก ⏩ 29.13 รมว. ซักถามเพิ่มเติมเรื่อง growth mindset index ⏩ 30:50 รมว. อภิปรายข้อมูลเรื่องผลกระทบของงบประมาณทางการศึกษา กับผล PISA2018 ⏩ 33:35 รมว.ให้ข้อเสนอแนะและนโยบายกับ สสวท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง . ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ PISA ที่ https://youtu.be/y1IJfkW9hso และ pisathailand.ipst.ac.th . ชมคลิปการแถลงข่าวผลการประเมิน PISA 2018 ได้ที่ https://youtu.be/ZraYW3zzCa0 . ประเทศไทยได้เข้าร่วมโปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ซึ่งริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Cooperation and Development หรือ OECD) วัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของระบบการศึกษาในการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนมีศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นผู้ดำเนินงานโปรแกรม PISA ในประเทศไทยในฐานะศูนย์แห่งชาติ โดยประเมินนักเรียนอายุ 15 ปี ซึ่งเป็นวัยที่จบการศึกษาภาคบังคับ และดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุก 3 ปี เพื่อติดตามแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ\r
การศึกษาและมุ่งให้ข้อมูลแก่ระดับนโยบาย
Category
People \u0026 Blogs
SHOW LESS
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆInvestement
916042 49540Aw, it was an incredibly very good post. In thought I would like to set up writing related to this furthermore – taking time and actual effort to create a really good article but exactly what do I say I procrastinate alot and also no indicates manage to go done. 704869
23812 125937I got what you intend,bookmarked , really decent website. 355108
472180 864506I got what you intend, saved to favorites , extremely decent internet site . 84011
323674 779643Cool post thanks! We believe your articles are excellent and hope much more soon. We enjoy anything to do with word games/word play. 496722
648252 789031Youre so cool! I dont suppose Ive read anything in this way before. So good to locate somebody by original thoughts on this topic. realy thanks for beginning this up. this fabulous internet site is one thing that is needed on the internet, a person with a bit of originality. beneficial project for bringing a new challenge towards internet! 752683
269023 85250I feel this is best for you: Soccer, Football, Highlight, Live Streaming 196662
894158 28888Very good design and style and amazing topic matter, really small else we want : D. 835471
513935 225488Cheers for this excellent. I was wondering whether you were planning of publishing related posts to this. .Maintain up the excellent articles! 558489
349853 860034Really informative and superb bodily structure of content material material , now thats user friendly (:. 736372