การให้สุขภาพจิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | เสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำของโรคเนื่องจากขาดความรู้ในการรับประทานยาจิตเวช

การให้สุขภาพจิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด, การให้สุขภาพจิตศึกษา, การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช,การพยาบาลเรื่องยาจิตเวช, การป้องกันการป่วยซ้ำของผู้ป่วยจิตเวช

การให้สุขภาพจิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เราจะรู้ได้อย่างไร ว่าผู้ป่วยจิตเวชจะไม่ลุกขึ้นมาก่อความรุนแรง ?


กรมสุขภาพจิต โดยกองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต ได้จัดทำแบบสังเกตผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงต่อการก่อความรุนแรง เพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้สังเกตอาการผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนว่ามีความเสี่ยงที่จะก่อความรุนแรงหรือไม่
รายละเอียดเป็นอย่างไรนั้น เชิญรับวิดีโอของเราได้เลยครับ
สามารถทำแบบสังเกตผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงต่อการก่อความรุนแรงได้ ผ่านแอปพลิเคชั่น \”Mind 7\” บนระบบปฎิบัติการ Android

เราจะรู้ได้อย่างไร ว่าผู้ป่วยจิตเวชจะไม่ลุกขึ้นมาก่อความรุนแรง ?

ผู้พิชิตโรคจิตเภท / Schizophrenia


ผู้พิชิตโรคจิตเภท / Schizophrenia

คำถามยอดฮิตยาจิตเวช


หลายคนสงสัย ทำไมต้องกินยา กินยาไปนานๆ จะสะสมในร่างกายไหม กินยาพร้อมกันหลายตัวจะตีกันหรือเปล่า และไหนจะยานอนหลับอีก กินไปทุกๆ คืน มีโอกาสติดยานอนหลับแค่ไหน เภสัชกรใจดี ภญ.ปภินทิพย์ ธนพัตจรูญพงษ์ เภสัชกร โรงพยาบาลมนารมย์ มีคำตอบสำหรับทุกคำถามค่ะ

See also  [Update] ล่า by ทมยันตี | ล่า ทมยันตี - Sathyasaith

เพราะโรคทางใจ คือโรคใกล้ตัว
ติดตามความรู้เรื่องสุขภาพใจของโรงพยาบาลมนารมย์ทั้งหมดได้ที่นี่ Manarom Center
YouTube : https://www.youtube.com/user/ManaromCenter
Website : www.manarom.com
ดูแล้วอย่าลืมกด Follow เลือก ⭐️ See First กันด้วยนะคะ
ยาจิตเวช ยานอนหลับ โรคจิตเวช พลังใจดี โรงพยาบาลมนารมย์ EatingDisorder WellBeing ManaromHospital

คำถามยอดฮิตยาจิตเวช

รักษาโรคซึมเศร้าด้วยตัวเองเบื้องต้น ความแตกต่างระหว่างความเศร้าและอารมณ์เศร้า ป้องกัน#SIRINANASARA


รักษาโรคซึมเศร้าด้วยตัวเองเบื้องต้นSIRINANASARA
โรคซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย แต่โดยมากมักเริ่มตั้งแต่ช่วงอายุ 2030 ปี โรคความผิดปกติทางอารมณ์ส่วนใหญ่จะเริ่มพัฒนามาจากช่วงวัยรุ่น ที่มีความเครียดและความวิตกกังวลสูง ยิ่งในช่วงวัยรุ่นมีความเครียด ความกังวลมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้าในวัยผู้ใหญ่มากขึ้นเท่านั้น
ปัจจุบันนี้เราจะเห็นได้ว่ามีคนเป็นโรคซึมเศร้าหรืออยู่ในภาวะซึมเศร้าเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งอาจมีคนที่กำลังสับสนอยู่ว่าควรจัดการกับอารมณ์อย่างไรดี หรือควรไปพบจิตแพทย์ รักษาแล้วจะหายไหม ยาที่กินมีผลข้างเคียงอะไรบ้าง ซึ่งวันนี้ สิริ มีข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนี้มาฝากทุกคนกันค่ะ
ภาวะซึมเศร้า (Depression) หรือที่รู้จักกันว่าโรคซึมเศร้า เป็นภาวะความผิดปกติทางอารมณ์ที่ผู้ป่วยอาจรู้สึกเศร้า สิ้นหวัง หรือรู้สึกว่าตนด้อยค่า ภาวะซึมเศร้านั้นมีความรุนแรง จนถึงขั้นส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ของผู้ป่วย จากสถิติทั่วโลกพบว่ามีผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเป็นในเพศหญิงมากกว่าเพศชายถึง 2 เท่า และอัตราการฆ่าตัวตายในเพศชายสามารถเกิดขึ้นได้มากกว่าเพศหญิง ผู้ที่มีเกณฑ์จะเป็นโรคซึมเศร้ามักจะเริ่มเป็นตอนช่วงอายุ 25 ปี
ความแตกต่างระหว่าง ภาวะซึมเศร้า และ ความเศร้า
ภาวะซึมเศร้าและความเศร้า มีความเชื่อมโยงกัน แต่ก็ไม่เหมือนกัน
ความเศร้าเป็นอารมณ์ที่สามารถเกิดได้กับทุกคน มักจะเกิดขึ้นหลังจากมีเหตุการณ์ที่ทำให้เครียดหรือทำให้เสียใจ และหายได้หลังจากทำใจยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นหรือเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความผิดหวังได้แล้ว
ส่วนภาวะซึมเศร้านั้น เป็นภาวะที่เกิดจากการปรับตัวไม่ได้กับปัญหาต่างๆ ที่เข้ามากระทบในชีวิต เช่น ย้ายบ้าน ตกงาน เกษียณ โดยจะพบอาการซึมเศร้าร่วมด้วย แต่มักจะไม่รุนแรง ถ้ามีคนมาพูดคุย ปลอบใจก็จะดีขึ้นบ้างค่ะ อาจมีเบื่ออาหารแต่เป็นไม่มาก ยังพอนอนได้ เมื่อเวลาผ่านไป ค่อยๆ ปรับตัวกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ภาวะอารมณ์ซึมเศร้าที่มีก็จะทุเลาลง
วิธีการรักษาอาการของโรคซึมเศร้า
คนป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ไม่จำเป็นต้องร้องไห้ นั่งซึม หรือคิดอยากฆ่าตัวตายอยู่ตลอดเวลา สามารถยิ้ม หัวเราะ และมีความสุขได้เช่นเดียวกันกับคนปกติทั่วไป การรักษาโรคซึมเศร้า สามารถทำได้โดย การพูดคุยให้คำปรึกษาและเข้าใจผู้ป่วย การทำจิตบำบัด รวมถึงการใช้ยาในกลุ่มแก้ซึมเศร้าหากมีความจำเป็น โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่รักษาได้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการดีขึ้นจนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติหลังจากเข้ารับการรักษา
วิธีการรักษาอาการของโรคซึมเศร้าทางการแพทย์ มี 3 วิธี ในบางรายอาจต้องใช้วิธีการรักษาร่วมกัน ได้แก่
1. การรักษาด้วยยา เพื่อปรับระดับสารเคมีในสมองให้สมดุล ยาที่ใช้รักษาโรคซึมเศร้ามีอยู่หลายกลุ่ม โดยแพทย์จะเลือกใช้ตามอาการของผู้ป่วย ยากลุ่มที่ใช้บ่อยจะให้ผลออกฤทธิ์ต่อสารสื่อประสาท ทำให้มีอาการข้างเคียงในช่วง 12 สัปดาห์แรก เช่น คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ใจสั่น มือสั่น เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ท้องผูกหรือท้องเสีย ง่วงซึมหรือนอนไม่หลับ ความต้องการทางเพศลดลง อาการข้างเคียงดังกล่าวมีความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละคนนะคะ อาการจะค่อย ๆ ลดลงเมื่อกินยาต่อเนื่องสม่ำเสมอ และเมื่ออาการดีขึ้นแล้วควรทานยาต่อไปอีก 612 เดือน เพื่อป้องกันอาการกลับมาเป็นซ้ำอีก
2. การรักษาทางจิตใจ การพูดคุยถึงอาการและปัญหาต่าง ๆ กับนักจิตวิทยา หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมของผู้ป่วย จะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจในตัวเอง สาเหตุที่ทำให้ตนเองเป็นทุกข์ เข้าใจปัญหาและนำไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม โดยการทำจิตบำบัดนั้นสามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น การบำบัดเพื่อช่วยปรับทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมและปฏิสัมพันธ์ การบำบัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การบำบัดเพื่อช่วยให้สามารถจัดการกับประสบการณ์ตึงเครียดในชีวิต
3. การรักษาด้วยไฟฟ้า เดิมเรียกว่า การช็อกไฟฟ้า เป็นการรักษามาตรฐานทางจิตเวชศาสตร์ซึ่งเหนี่ยวนำให้ผู้ป่วยชักด้วยไฟฟ้าเพื่อการแก้การเจ็บป่วยทางจิตเวช เป็นการรักษาวิธีสุดท้ายสำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า วิธีนี้จะใช้รักษาในผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มีอาการระดับรุนแรง ที่มีอาการฟุ้งพล่านและอาการเคลื่อนไหวน้อยหรือมากเกินไป โดยจะให้สองหรือสามครั้งต่อสัปดาห์
เคล็ดลับการบำบัดโรคซึมเศร้าด้วยตัวเอง
แสงแดดอ่อนๆ ยามเช้า ประมาณ 3060 นาที จะช่วยลดฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่สร้างขึ้นเพื่อควบคุมการนอนหลับ การได้รับแสงแดดยามเช้าจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกสดชื่น อารมณ์แจ่มใส การสัมผัสหรือมีกิจกรรมร่วมกันกับสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัขหรือแมวจะช่วยให้ฮอร์โมนความเครียดลดลงได้ค่ะ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะทำให้การหลั่งสารฮอร์โมน เอ็นโดรฟิน โดปามีน ทำงานได้ดีขึ้น การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รวมทั้งหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์และการใช้สารเสพติดทุกชนิด เรียนรู้วิธีผ่อนคลายความเครียด รวมทั้งวิธีรับมือกับอาการที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญสถานการณ์ที่ทำให้เกิดความเครียด โดยการหางานอดิเรกทำในยามว่างหรือเมื่อรู้สึกเครียด ทำสมาธิ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ หรือเล่นโยคะ
ญาติหรือคนรอบข้างก็เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญมากต่อผู้ป่วย การรับฟังด้วยความเข้าใจจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้นเพราะมีคนเข้าใจจริงๆ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความคิดความรู้สึกออกมา การที่ผู้ป่วยได้ระบายทำให้ช่วยผ่อนคลายความเครียด นอกจากนี้การสร้างพฤติกรรมทางสุขภาพจิตที่ดีด้วยการเลือกรับประทานอาหาร ออกกำลังกาย รักษาสภาวะอารมณ์ให้แจ่มใส นับเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดความเสี่ยงจากภาวะซึมเศร้าได้ค่ะ

See also  KONG Story EP. 27 เวียดนามโอกาสใหม่ของนักธุรกิจ | หานายทุนร่วมธุรกิจ | อัพเดทข้อมูลเศรษฐกิจและการเงินทุกวันที่นี่
See also  [Update] | การ แปล รูป อาหาร - Sathyasaith

รักษาโรคซึมเศร้าด้วยตัวเองเบื้องต้น ความแตกต่างระหว่างความเศร้าและอารมณ์เศร้า ป้องกัน#SIRINANASARA

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆEconomy

13 thoughts on “การให้สุขภาพจิตศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | เสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำของโรคเนื่องจากขาดความรู้ในการรับประทานยาจิตเวช”

  1. 926149 19923Following study some of the weblog articles for your web site now, and that i genuinely like your method of blogging. I bookmarked it to my bookmark web site list and are checking back soon. Pls consider my internet web site too and inform me what you consider. 341405

    Reply
  2. 824998 433851Someone necessarily assist to make critically articles Id state. This really is the very first time I frequented your internet page and thus far? I amazed with the analysis you created to make this actual submit incredible. Exceptional activity! 874005

    Reply
  3. 794712 416771It was any exhilaration discovering your website yesterday. I arrived here nowadays hunting new issues. I was not necessarily frustrated. Your ideas soon after new approaches on this thing have been helpful plus an superb assistance to personally. We appreciate you leaving out time to write out these items and then for revealing your thoughts. 621207

    Reply
  4. 985914 601500Following examine a couple of with the weblog posts inside your internet site now, and I truly like your manner of blogging. I bookmarked it to my bookmark website list and might be checking back soon. Pls take a look at my site as effectively and let me know what you think. 333628

    Reply
  5. 444489 901989Wonderful weblog here! Also your web site loads up quickly! What host are you utilizing? Can I get your affiliate link to your host? I wish my internet site loaded up as quickly as yours lol 419132

    Reply
  6. each time i used to read smaller articles that as well
    clear their motive, and that is also happening with this post which I
    am reading at this place.

    Reply
  7. 840067 47414Considerably, the story is in reality the greatest on this noteworthy topic. I agree along with your conclusions and will eagerly watch forward to your next updates. Saying good one will not just be sufficient, for the great clarity inside your writing. I will immediately grab your rss feed to stay privy of any updates! 47095

    Reply

Leave a Comment