Table of Contents
ขึ้นว่างงานประกันสังคม ผู้ประกันตนมาตรา 33 ได้เงินชดเชยเท่าไหร่ กี่เดือน ขึ้นว่างงานอย่างไร
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
สำหรับใครที่ลาออก โดนเลิกจ้าง โดนไล่ออก สามารถขึ้นว่างงานประกันสังคม ผู้ประกันตนมาตรา 33 ได้เงินชดเชยเท่าไหร่ กี่เดือน ขึ้นว่างงานอย่างไร
สำหรับขั้นตอน ลงทะเบียนว่างงาน และยื่นขอเงินว่างงานจากประกันสังคม (มาตรา 33)
เข้าไปที่ลิ้งใต้คลิปด้านล่างและทำตามขั้นตอนได้เลยค่ะ
https://empui.doe.go.th/auth/index
ขึ้นว่างงาน ผู้ประกันตนมาตรา33 โดนไล่ออกได้เงินชดเชย
Ep.115 | การสมัครผู้ประกันตน ม.39 สิทธิที่ได้รับ เงินสมทบที่ต้องจ่ายต่อเดือน การพ้นสภาพ by HR_พี่โล่
Ep.115 | การสมัครผู้ประกันตน ม.39 สิทธิที่ได้รับ เงินสมทบที่ต้องจ่ายต่อเดือน การพ้นสภาพ by HR_พี่โล่
00:50 คุณสมบัติผู้สมัคร ม.39
01:13 การยื่นใบสมัคร ม.39
01:34 หลักฐานการสมัคร ม.39
02:02 อัตราเงินสมทบที่ต้องจ่าย ม.39
03:03 สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ ม.39
03:26 การจ่ายเงินสมทบ ม.39
04:40 หน้าที่ของผู้ประกันตน ม.39
05:23 การสิ้นสุดผู้ประกันตน ม.39
ผู้ประกันตนมาตรา39 ประกันสังคม HRพี่โล่
ความรู้พื้นฐานประกันสังคม EP2 ประเภทของผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40
มาตรา ๓๓ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน
ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ และยังเป็นลูกจ้างของนายจ้างซึ่งอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป
มาตรา ๓๙ ผู้ใดเคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๓ โดยจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบสองเดือน และต่อมาความเป็นผู้ประกันตนได้สิ้นสุดลงตามมาตรา ๓๘ (๒) ถ้าผู้นั้นประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนต่อไป ให้แสดงความจำนงต่อสำนักงานตามระเบียบที่เลขาธิการกำหนดภายในหกเดือนนับแต่วันสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน
จำนวนเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบที่ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งต้องนำส่งเข้ากองทุนตามมาตรา ๔๖ วรรคสาม ให้เป็นไปตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจในขณะนั้นด้วย
ให้ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนเดือนละครั้งภายในวันที่สิบห้าของเดือนถัดไป
ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งซึ่งไม่ส่งเงินสมทบหรือส่งไม่ครบจำนวนภายในเวลาที่กำหนดตามวรรคสาม ต้องจ่ายเงินเพิ่มในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของจำนวนเงินสมทบที่ยังมิได้นำส่งหรือของจำนวนเงินสมทบที่ยังขาดอยู่นับแต่วันถัดจากวันที่ต้องนำส่งเงินสมทบ สำหรับเศษของเดือนถ้าถึงสิบห้าวันหรือกว่านั้นให้นับเป็นหนึ่งเดือน ถ้าน้อยกว่านั้นให้ปัดทิ้ง
มาตรา ๔๐ บุคคลใดซึ่งมิใช่ลูกจ้างตามมาตรา ๓๓ หรือไม่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้อาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัตินี้ได้ โดยแสดงความจำนงต่อสำนักงาน ทั้งนี้ คุณสมบัติของบุคคลดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
หลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตน ประเภทของประโยชน์ทดแทนที่จะได้รับตามมาตรา ๕๔ ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทน ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ให้รัฐบาลจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง แต่ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่ง
======================================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/
#สำนักงานประกันสังคม#ผู้ประกันตนมาตรา 39#สิทธิประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตนมาตรา 39 มีอะไรบ้าง????
สำหรับสิทธิประโยชน์ทดแทนสำหรับผู้ประกันตนมาตรา 39 ท่านจะได้รับสิทธิประโยชน์ 6 กรณีด้วยกันนะครับ ต่างจากผู้ประกันตนมาตรา 33 เพียงแค่ 1 กรณีนะครับ ผู้ประกันตนมาตรา 39 จะไม่ได้รับกรณีว่างงานอย่างเดียวนะครับ หากชื่อท่านมีอยู่ในระบบประกันสังคม และเจ้าหน้าที่ประกันสังคมได้คีย์เข้าระบบท่านก็มีสิทธิ์ หรือสิทธิ์ของท่านจะเกิดและต่อเนื่องจากผู้ประกันตนตามมาตรา 33 เลยนะครับ ยกเว้นว่างงานเท่านั้นนะครับ สำหรับสิทธิประโยชน์ทดแทนผุ้ประกันตนจะได้รับความคุ้มครอง 6 กรณีซึ่งได้แก่ 1. กรณีเจ็บป่วย 2. กรณีคลอดบุตร 3. กรณีทุพพลภาพ
4. กรณีตาย 5. กรณีสงเคราะห์บุตร และ 6. กรณีชราภาพสำนักงานประกันสังคมผู้ประกันตนมาตรา 39สิทธิประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตนมาตรา 39 มีอะไรบ้าง????สำนักงานประกันสังคมผู้ประกันตนมาตรา 39สิทธิประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตนมาตรา 39 มีอะไรบ้าง????
สิทธิประโยชน์กรณีชราภาพสำหรับผู้ประกันตนเมื่อครบ 55 ปีแล้วจะได้รับบำเหน็จ หรือบำนาญ ?
คลิปนี้จะมาสรุปเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพสำหรับผู้ประกันตน
เงื่อนไขการเกิดสิทธิกรณีบำนาญชราภาพ
จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า180 เดือน ไม่ว่าระยะเวลา 180 เดือนจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม
มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์
ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง
เงื่อนไขการเกิดสิทธิกรณีบำเหน็จชราภาพ
จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน
ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง
มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ หรือเป็นผู้ทุพพลภาพ หรือถึงแก่ความตายสามารถ
ติดตามข้อมูลดีๆได้ที่นี่ เพียงกด ติดตาม!
พูดคุยกันได้ที่เพจ ไอทีดีมีคำตอบ It elearning 24hr นะคะ
https://www.facebook.com/pg/ITDmeekamtob
บำนาญ บำเหน็จ ยื่นชราภาพ รับเงินชราภาพ คำนวณเกษียณ คำนวณบำเหน็จ คำนวณบำนาญ รับเงินเกษียณ
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Investement
630833 569428It is nearly impossible to find knowledgeable males and women during this subject, even so you sound like do you know what you are discussing! Thanks 884837
118605 248964Fairly uncommon. Is likely to appreciate it for folks who incorporate community forums or anything, internet web site theme . a tones way for the client to communicate. Outstanding job.. 578751