ถาม-ตอบ กับ ส. ศิวรักษ์ (ครั้งที่ 7) วิพากษ์นายกฯ และนักวิชาการร่วมสมัย | การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ย่อ

ถาม-ตอบ กับ ส. ศิวรักษ์ (ครั้งที่ 7) วิพากษ์นายกฯ และนักวิชาการร่วมสมัย


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

หลังทำรายการมาได้สักพัก ทีมงานก็เริ่มคิดว่าการได้ให้ทางบ้านถามคำถามทั่วไปถึงส.ศิวรักษ์ น่าจะทำให้เราได้ใกล้ชิดกับผู้ติดตามมากขึ้น
คลิปถามมาตอบตรง (Q\u0026A) โดยส.ศิวรักษ์ อาจไม่มีกำหนดออกที่แน่นอน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเด็นคำถามจากผู้ติดตามทางบ้าน แต่ก็สามารถติดตามคลิปเหล่านี้ได้ทาง
Facebook: https://www.facebook.com/NewParadigmLeadership/
เว็บไซต์ กระบวนทัศน์ใหม่.net https://xn12c8bfbc9bj7al5a2cq0vscuc.net/

ถาม-ตอบ กับ ส. ศิวรักษ์ (ครั้งที่ 7) วิพากษ์นายกฯ และนักวิชาการร่วมสมัย

ส่องการเมืองไทยหลังยุคคณะราษฎร ตอนที่ 10 พิเคราะห์ทักษิณ ยามเถลิงอำนาจ


ประวัติศาสตร์ที่ไม่มีในแบบเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ
ประวัติศาสตร์การเมืองไทยหลังยุคคณะราษฏร
ตอนที่แล้วพูดถึงลักษณะของนักการเมืองไทย ที่อ่อนน้อมแต่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไร ตอนนี้เราจะมาดูลักษณะขั้วตรงข้ามอย่าง ทักษิณ ชินวัตร ผู้มีความคิดล้ำสมัย ทำเรื่องดีงามไว้หลายอย่าง ฉับไว แต่แล้วก็แพ้อำนาจแก้โลภจริต โทสจริต และโอ้อวดหลงตัวเอง มองคนรอบตัวเป็นเพียงบริวาร ไม่ฟังคนที่เห็นต่าง ต้องการแต่คนเห็นด้วย หลังทักษิณขึ้นเถลิงอำนาจไม่นาน คนที่เคยสนับสนุนเขาก็ถอยห่าง จนปรากฏขบวนการแบ่งขั้วเหลืองแดงในภายหลัง
มันมีเหตุปัจจัยอะไรบ้าง ที่ทำให้ทักษิณถูกเขี่ยออกนอกประเทศ ลองติดตามกันได้จากคลิปนี้ ครูผู้เฒ่าของเรา พูดถึงเขาอย่างวิพากษ์ แต่ก็ให้ความเป็นธรรมพอสมควร
ประชา หุตานุวัตร
ณพัฒน์ พัฒนพีระเดช
อันวยา แก้วพิทักษ์
คณะทัศนาธิการ

See also  ศัพท์สังคีต ดนตรีสากล By ครูต๋อง | ศัพท์สังคีตทางดนตรีสากล

ติดตามชุดพิเคราะห์สังคมไทย 101 ได้ทุกสัดาห์ ในช่องทาง
Facebook: https://www.facebook.com/NewParadigmLeadership/
เว็บไซต์ กระบวนทัศน์ใหม่.net https://xn12c8bfbc9bj7al5a2cq0vscuc.net/

ส่องการเมืองไทยหลังยุคคณะราษฎร ตอนที่ 10 พิเคราะห์ทักษิณ ยามเถลิงอำนาจ

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 สมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย


การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศาสตร์ไทยเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งมีผลทำให้ราชอาณาจักรสยามเปลี่ยนรูปแบบประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเปลี่ยนรูปแบบการปกครองไปเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา เกิดขึ้นจากคณะนายทหารและพลเรือนที่ประกอบกัน เรียกตนเองว่า \”คณะราษฎร\” โดยเป็นผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์โลก ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองภายในประเทศ การปฏิวัติดังกล่าวทำให้ประเทศสยามมีรัฐธรรมนูญฉบับแรก

ช่องทางการติดตาม
เฟสบุ๊ค : https://www.facebook.com/wachiyd
อินสตราแกรม : wachiyd_

การปฏิวัติ2475 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475 ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ระบอบประชาธิปไตย

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 สมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย

ฤๅสถาบันหลักจะหมดบุญ


อาจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์ พยากรณ์ว่า บ้านเมืองอาจจะถึงคราว เข่นฆ่ากันเอง แบบสงครามกลางเมือง เพราะสถาบันหลักต่างๆ ของบ้านเมืองได้ใช้ทุนของตนเอง อย่างสิ้นเปลืองและทุนที่สะสมมา กำลังจะหมดสิ้นลง (บทสุดท้ายของหนังสือ “วิวาทะสองปัญญาชนอาวุโส: แก่นสารของประชาธิปไตยคืออะไรกันแน่”) เรานำความนี้มาถาม อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ว่าจะต้องเป็นไปตามคำพยากรณ์นี้หรือไม่ หลีกเลี่ยงได้ไหม ต้องอาศัยเหตุปัจจัยอะไรบ้าง ในที่สุดก็กลายมาเป็นวิดีทัศน์ตอนนี้ ของชุด “ความเห็นทางการเมืองของ ส.ศิวรักษ์” คำตอบคมคาย ตรงไปตรงมา และล้ำลึกเหมือนเดิม ขอเชิญติดตามได้เลย
ประชา หุตานุวัตร
ณพัฒน์ พัฒนพีระเดช
อันวยา แก้วพิทักษ์
คณะทัศนาธิการ

ติดตามได้ทุกสัดาห์ ในช่องทาง
Facebook: https://www.facebook.com/NewParadigmLeadership/
เว็บไซต์ กระบวนทัศน์ใหม่.net https://xn12c8bfbc9bj7al5a2cq0vscuc.net/

See also  [Update] แผนการสอนระดับ อนุบาล 1-2-3 พร้อมแผนจัดการเรียนรู้ 20 หน่วย เทอม 1-2 | แผนการ สอน ภาษา จีน อนุบาล - Sathyasaith

ฤๅสถาบันหลักจะหมดบุญ

“การเมืองทมิฬ” ศึกแห่งอำนาจของสามอหังการแห่งการเมืองไทย


ยุคสมัยหนึ่งที่การเมืองไทยเข้าสู่สมัยแห่งการช่วงชิงความเป็นใหญ่กัน สมัยที่แบ่งขั้วอำนาจทางการเมืองออกเป็นสามกลุ่ม ขับเคี่ยวกันเพื่อเป็นที่ 1 ใครพลาดคือจบเห่อย่างเดียว และวันนี้เราจะมาพูดถึงเหตุการณ์นั้นครับ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังการรัฐประหาร 2490 25000 อันมีกลุ่มอำนาจทางการเมืองที่ยิ่งใหญ่คุมเชิงกันและกันเพื่อหวังกุมอำนาจไว้ ประกอบไปด้วย ทีมจอมพลป. ทีมจอมพลสฤษดิ์ และทีมพล.ต.อ.เผ่า ที่ต่างฝ่ายต่างมีทีเด็ดในการทำให้ดำรงไว้หรือได้มาซึ่งอำนาจหรือความเป็นใหญ่ จนถูกเรียกขานว่าเป็นยุคมืดหรือยุคทมิฬอีกช่วงเวลาหนึ่งเลยทีเดียว รายละเอียดจะเป็นอย่างไร ไปติดตามกันเลยครับ

ข้อมูลอ้างอิง
รายงานฉบับสมบูรณ์ ดุลยภาพทางการเมืองดุลยภาพทางสังคม โดย รองศาสตราจารย์ อาทร ฟุ้งธรรมสาร, รองศาสตราจารย์ จาง กงฉาง, รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า. ตุลาคม 2557.
บันทึกการทำงานของจอมพลป.พิบูลสงคราม ระหว่าง 24912499. พิมพ์แจกในวันอภิลักขิตสมัยคล้ายวันเกิดครบ 5 รอบ ของ ฯพณฯจอใพลป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เมื่อ 14 กรกฎาคม 2500
พรภิรมณ์ เชียงกูล. (2535). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย เล่ม 1 . กรุงเทพ : โอเดียนสโตร์.
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2550). แผนชิงชาติไทย: ว่าด้วยรัฐและการต่อต้านรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามครั้งที่สอง(พ.ศ.24912500). กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก.
คริสเบเกอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2557). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพ : มติชน.
ธงชัย วินิจกูล. (2556). ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง. นนทบุรี : ฟ้าเดียวกัน.
ณัฐพล ใจจริง. การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา(พ.ศ.24912500). วิทยายิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2552). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. กรุงเทพ : โครงการตำราฯ.
นรติ เศรษฐบุตร. (2543). กลุ่มซอยราชครูในการเมืองไทย. กรุงเทพ:ธรรมศาสตร์
พลเอก บัญชร ชวาลศิลป์. 2500 : สฤษดิ์เผ่า เพื่อนรักหักเหลี่ยมโหด. กรุงเทพ:แสงดาว. 2563.
หนังสือ ประวัติและผลงานของฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต พิมพ์ใน อนุสรณ์ 50 ปี อสัญกรรม ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนัตน์ (บรรณาธิการ). (2544) ปรีดีพนมยงค์และ 4 รัฐมนตรีอีสาน+1กับการเมืองไทย. กรุงเทพ:โครงการตำราฯ.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2549). ประวัติศาสตร์การเมืองไทย 24752500. กรุงเทพ : โครงการตำราฯ.
ประจวบ อัมพะเศวต. พลิกแผ่นดินประวัติการเมืองไทย มิถุนายน 2475 14 ตุลาคม 2516. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2543.
รัตพงษ์ สอนสุภาพ . (2539). ทุนขุนนางไทย (พ.ศ.25002516). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

See also  ข้อดีและข้อเสียบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ | นโยบายบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ วิเคราะห์ | อัพเดทข้อมูลเศรษฐกิจและการเงินทุกวันที่นี่

“การเมืองทมิฬ” ศึกแห่งอำนาจของสามอหังการแห่งการเมืองไทย

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Economy

12 thoughts on “ถาม-ตอบ กับ ส. ศิวรักษ์ (ครั้งที่ 7) วิพากษ์นายกฯ และนักวิชาการร่วมสมัย | การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ย่อ”

  1. 991344 420319Hi, you used to write superb posts, but the last several posts have been kinda boring I miss your great posts. Past few posts are just just a little bit out of track! 23324

    Reply
  2. 277747 774687wonderful post, really informative. I wonder why the other experts of this sector do not notice this. You need to continue your writing. Im positive, youve an excellent readers base already! 324436

    Reply
  3. 89143 706317An fascinating discussion may possibly be worth comment. I believe you ought to write on this subject, it may possibly definitely be a taboo topic but generally folks are not enough to dicuss on such topics. To a higher. Cheers 158236

    Reply
  4. 537936 593640Its always very good to learn guidelines like you share for weblog posting. As I just started posting comments for weblog and facing issue of lots of rejections. I feel your suggestion would be helpful for me. I will let you know if its work for me too. 207320

    Reply

Leave a Comment