บทสวด ปฏิจจสมุปบาท พุทธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล | บทปฏิจจสมุปบาท

บทสวด ปฏิจจสมุปบาท พุทธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

บทสวด ปฏิจจสมุปบาท
พุทธวจน ธรรมวินัยจากพุทธโอษฐ์
ปฏิจจสมุปบาทจากพุทธโอษฐ์ บทสัชฌายะ(สาธยาย)
โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล
อนุสาสนีปาฏิหาริย์แห่งการสวดสาธยาย
https://youtu.be/KNZfwpZkduI
https://youtu.be/lkqOrenSvfM
ท่านพระอาจารย์คึกฤทธิ์
อธิบายกฏอิทัปปัจจยตา ปฏิจจสมุปบาท อย่างละเอียด
https://youtu.be/Gqh1dB7I2Js
เสียงอ่านหนังสือพุทธวจน ๖ ฉบับ อานาปานสติ
ดาวน์โหลดเสียงอ่าน \”พุทธวจน ชุด อานาปานสติ\”
ซึ่งเป็นที่มานี้ได้จาก :
http://watnapp.com/audio
http://watnapp.com/video
พุทธวจน:หนังสือ:
http://watnapp.com/book
ดาวน์โหลด http://watnapp.com/files
ETipitaka+ (ค้นหาพุทธวจน)
http://etipitaka.com/
FAQ คำถามที่พบบ่อย
http://bhikkhukukrit.com/
พุทธวจน 6 อานาปานสติ
https://youtu.be/wgP0kV5R0Aw
เนื้อหาเสียงอ่านหนังสือพุทธวจน ๖ ฉบับ อานาปานสติ มีดังนี้
1.พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอยู่ตลอดพรรษากาลเป็นอันมาก
ด้วยวิหารธรรมคือ อานาปานสติสมาธิ
2.อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ ๒ ประการ
3.เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔
โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์
4.การเจริญอานาปานสติ (ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร)
5.อานาปานสติ เป็นเหตุให้ถึงซึ่งนิพพาน
6.แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่หนึ่ง)
7.แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่สอง)
8.เจริญอานาปานสติ ชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน
9.ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่อานาปานสติภาวนา
10.นิวรณ์เป็นเครื่องทำากระแสจิตไม่ให้รวมกำาลัง
11.ข้อควรระวัง ในการเจริญสติปัฏฐานสี่
คำถามที่พบบ่อย
https://faq.watnapp.com/
http://etipitaka.com/
ที่มา :http://watnapp.com/
กราบขอบพระคุณท่าน พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
วัดนาป่าพง และภัณเต ทุกท่าน ที่เปิดธรรมที่ถูกปิด
กราบขออนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ

บทสวด ปฏิจจสมุปบาท พุทธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล

ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์ (1) บทธรรมอ่าน โดย อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง


See also  ภาษาไทย ม.1 การเขียนย่อความ ครูวิมลฉัตร มีหนองหว้า | การเขียนสรุปความ ย่อความ

ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์ (1)
ธรรมโฆษณ์ของพุทธทาส
แปลและรวบรวมจากพระไตรปิฎกภาษาบาลี โดย พุทธทาสภิกขุ
เอื้อเฟื้อบทธรรม โดย เมตตา พานิช ประธานธรรมทานมูลนิธิ สวนโมกขพลาราม
บทธรรมอ่าน โดย อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง
www.thaitripidok.com
บทนำ
01:12 ใจความสำคัญ
01:58 คำชี้แจงเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท
20:29 หลักเกณฑ์ที่เนื่องกันอยู่กับปฏิจจสมุปบาท

ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์ (1) บทธรรมอ่าน โดย อาจิต โตเกียรติรุ่งเรือง

บทสวดปฏิจจสมุปบาท (เสียงพระอาจารย์คึกฤทธิ์) มีบทอ่านท่องตาม | พุทธวจน


พุทธวจน คำสอนของพระพุทธเจ้า
ให้ใช้ธรรมวินัยเป็นศาสดา
อานนท์ !!
ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างนี้ว่า
ธรรมวินัยของพวกเรา
มีพระศาสดาล่วงลับไปเสียแล้ว
พวกเราไม่มีพระศาสดา ดังนี้
อานนท์ !!
พวกเธออย่าคิดอย่างนั้น
อานนท์ !!
ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราแสดงแล้ว
บัญญัติแล้ว แก่พวกเธอทั้งหลาย
ธรรมวินัยนั้น
จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย
โดยกาลล่วงไปแห่งเรา
อานนท์ !!
ในกาลบัดนี้ก็ดี ในกาลล่วงไปแห่งเราก็ดี
ใครก็ตาม
จักต้องมีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ
ไม่เอาสิ่งอื่นเป็นสรณะ
มีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ
ไม่เอาสิ่งอื่นเป็นสรณะ เป็นอยู่
อานนท์ !!
ภิกษุพวกใดเป็นผู้ใคร่ในสิกขา
ภิกษุพวกนั้น
จักเป็นผู้อยู่ในสถานะอันเลิศที่สุดแล
อานนท์ !!
ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้
มีในยุคแห่งบุรุษใด
บุรุษนั้นชื่อว่า
เป็นบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย
เราขอกล่าวย้ำกะเธอว่า
เธอทั้งหลาย !!
อย่าเป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย
Cr http://watnapp.com/audio

บทสวดปฏิจจสมุปบาท  (เสียงพระอาจารย์คึกฤทธิ์) มีบทอ่านท่องตาม | พุทธวจน

พุทธวจน – บทสวดปฏิจจสมุปบาท (๙ จบ) – ฐานธรรมนำชีวิต


ขอเชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา ในการสนับสนุนการจัดทำคลิปธรรมมะดีๆ เช่นนี้ เพื่อเป็นธรรมทานให้แก่กัลยาณมิตรทั้งหลาย เพื่อส่งต่อกุศลบุญ และเป็นมรดกธรรมที่คงจะอยูู่ตลอดไป ร่วมกันครับ
ร่วมทำบุญได้ที่หมายเลขบัญชี : 0210373668 / ธนาคารกรุงเทพ
ชื่อบัญชี : ฐานเอก สันติทัดดนุเดช / ออมทรัพย์
(ผู้จัดการสถานี : ฐานธรรมนำชีวิต)
มาร่วมสร้างบุญให้แก่ตนเอง และกัลยาณมิตรของเราอย่างง่ายๆ ดังกล่าวนี้ ได้ทุกที่ ทุกเวลา ด้วยการให้ การแชร์ การแบ่งปันธรรมะ เพื่อเป็นแสงสว่างส่องทางชีวิตไปด้วยกันเถิด
และกัลยาณมิตรท่านใด ที่ต้องการให้ข้าพเจ้า จัดทำและอ่านบทสวดใด หรือ อ่านบทความธรรมะใดๆ ท่านสามารถส่งบทความ หรือลิงค์บทความให้ข้าพเจ้าได้ ที่ [email protected] ครับ
ข้าพเจ้ายินดีทำเพื่อธรรมทานความรู้ให้แก่ทุกๆ คนครับ
สุดท้ายนี้ ขอให้กัลยาณมิตรทุกท่าน ประสบแต่ความสุขสงบและความเจริญยิ่ง ตลอดไปในทุกๆวันด้วยเทอญ สาธุ…สาธุ…สาธุ
ด้วยความปารถนาดีและความเคารพอย่างสูง
คณะผู้จัดทำ
ฐานธรรมนำชีวิต

See also  33208 หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ | ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ | อัพเดทข้อมูลเศรษฐกิจและการเงินทุกวันที่นี่

พุทธวจน - บทสวดปฏิจจสมุปบาท (๙ จบ) - ฐานธรรมนำชีวิต

ฟังแล้วดีเกิดผลชีวิตเป็นสุขทุกประการเทอญ พุทธวจน สาธยาย ปฏิจจสมุปบาท บาลี ไทย ๒ ชม


ปฏิจจสมุปบาท (ปะติดจะสะหฺมุบบาด) เป็นชื่อพระธรรมหัวข้อหนึ่งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปทานจึงมี
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา
หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา
อธิบายความหมายของบทสวด…
ความทุกข์ จะดับไปได้เพราะ ชาติ (การเกิดอัตตา\”ตัวตน\”คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ
ชาติ จะดับไปได้เพราะ ภพ (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ) ดับ
ภพ จะดับไปได้เพราะ อุปาทาน (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ) ดับ
อุปาทาน จะดับไปได้เพราะ ตัณหา (ความอยาก) ดับ
ตัณหา จะดับไปได้เพราะ เวทนา (ความรู้สึกทุกข์หรือสุขหรือเฉยๆ) ดับ
เวทนา จะดับไปได้เพราะ ผัสสะ (การสัมผัส) ดับ
ผัสสะ จะดับไปได้เพราะ สฬายตนะ (อายตนะใน๖+นอก๖) ดับ
สฬายตนะ จะดับไปได้เพราะ นามรูป (รูปขันธ์) ดับ
นามรูป จะดับไปได้เพราะ วิญญาณ (วิญญาณขันธ์) ดับ
วิญญาณ จะดับไปได้เพราะ สังขาร (อารมณ์ปรุงแต่งวิญญาณเจตสิก) ดับ
สังขาร จะดับไปได้เพราะ อวิชชา (ความไม่รู้อย่างแจ่มแจ้ง) ดับ
อายตนะ (อ่านว่า อายะตะนะ) แปลว่า ที่เชื่อมต่อ, เครื่องติดต่อ หมายถึง
สิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ
1.อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้างเรียกว่า อินทรีย์
6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะ
ภายนอก
2.อายตนะภายนอก หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่า
อารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ[1] ธรรมารมณ์[2] ทั้งหมด
นี้เป็นคู่กับอายตนภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียง เป็นต้น
อายตนะภายนอกนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อารมณ์ เมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า
สัมผัส รู้ว่ามีการเห็น เรียกว่าวิญญาณ เกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูป
เรียกว่า เวทนา
[1]โผฏฐัพพะ คือ สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่กายสัมผัสแตะต้องได้
ได้แก่ อารมณ์หรือสัมผัสที่มีลักษณะเย็น ร้อน อ่อน แข็ง หยาบ
ละเอียดเป็นต้น ซึ่งมากระทบหรือสัมผัสกับกาย และกายสามารถ
รู้สึกได้ถึงลักษณะนั้น เช่น น้ำกระเซ็นมาถูกแขน แขนก็รู้สึกถึงสิ่ง
ที่มาถูกนั้น
[2]ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่ใจรู้หรืออารมณ์ที่เกิดทางใจสิ่งที่ใจคิด
ความคิด จินตนาการ สิ่งที่ใจเก็บมาคิด ที่เป็นอดีต ปัจจุบัน อนาคต
แ้ล้วหน่วงดึงมาเป็นอารมณ์ หรือสิ่งที่เกิดขึ้นในใจ สัมผัสด้วยใจ
ขันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึง
ร่างกายของมนุษย์ คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน
หรือ 5 ขันธ์ คือ
1.รูป ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก
โลหิต
2.เวทนา ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
3.สัญญา ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
4.สังขาร ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจำได้นั้นๆ
5.วิญญาณ ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม
เมื่อจัดขันธ์เข้าในปรมัตถธรรม
วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต
เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก
รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป
การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน

See also  จอธีรพงษ์ เตหน่า เพลง โบราณ (ธาเลอเปล่อ) | เตหน่า

ฟังแล้วดีเกิดผลชีวิตเป็นสุขทุกประการเทอญ พุทธวจน สาธยาย ปฏิจจสมุปบาท บาลี ไทย ๒ ชม

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆEconomy

20 thoughts on “บทสวด ปฏิจจสมุปบาท พุทธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล | บทปฏิจจสมุปบาท”

  1. 245522 915647Hello, Neat post. There is an concern along with your site in internet explorer, could test thisK IE still may be the marketplace leader and a huge portion of other folks will miss your magnificent writing because of this dilemma. 161975

    Reply
  2. 611987 597163An intriguing discussion is worth comment. Im sure which you just write regarding this subject, may possibly not be considered a taboo subject but typically persons are too small to communicate on such topics. To another. Cheers 896120

    Reply
  3. 635513 868289Very properly written story. It will probably be valuable to anyone who usess it, including yours truly . Keep up the great function – canr wait to read much more posts. 154966

    Reply
  4. 716946 323954Ive been absent for a while, but now I remember why I used to adore this site. Thank you, I will try and check back more often. How frequently you update your web site? 257213

    Reply
  5. 324141 687236This web page is often a walk-through its the internet you wanted about this and didnt know who to question. Glimpse here, and youll totally discover it. 111902

    Reply
  6. 229255 407645Greetings! Quick question thats completely off subject. Do you know how to make your site mobile friendly? My weblog looks weird when viewing from my iphone. Im trying to uncover a template or plugin that may well be able to fix this issue. In the event you have any recommendations, please share. Appreciate it! 272256

    Reply

Leave a Comment