Table of Contents
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบิดาเเห่งวิทยาศาสตร์ไทย
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงสนพระทัยวิชาคณิตศาสตร์และวิชาดาราศาสตร์ในตำราโหราศาสตร์ของไทย ในที่สุดพระองค์ทรงได้ค้นคิดวิธีการคำนวณปักข์ (ครึ่งเดือนทางจันทรคติ) เพื่อประโยชน์ในการกำหนดวันธรรมสวนะ (วันพระ) ให้ถูกต้องตามการโคจรของดวงจันทร์ที่เรียกว่า \”ปฏิทินปักขคณนา\” (ปักขคณนา คือ วิธีนับปักข์หรือรอบครึ่งเดือนของข้างขึ้นข้างแรม เป็นวิธีนับที่แม่นยำสูง) และทรงมีพระบรมราชานุญาตให้ใช้ทำปฏิทินจันทรคติพระทุกปี แทนปฏิทินฆราวาส ขณะเดียวกันพระองค์ได้ทรงค้นคิดสูตรสำเร็จในการคำนวณปักข์ออกมาในรูปกระดาน ไม้สี่เหลี่ยมผืนผ้า เพื่อจะได้วันพระที่ถูกต้องโดยไม่ต้องเสียเวลาคำนวณ และมีชื่อเรียกว่า \”กระดานปักขคณนา\” ซึ่งปัจจุบัน ยังคงมีให้เห็นในวัดสายธรรมยุต. เช่น วัดราชาธิวาส พระปรีชาสามารถด้านดาราศาสาตร์นั้นน่าจะเริ่มตั้งแต่ทรงทอดพระเนตรดาวหางเมื่อทรงพระเยาว์. ซึ่งพระองค์ยังได้ทรงออกประกาศแจ้ง ชื่อ ประกาศดาวหางขึ้นอย่าได้วิตก เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องตามหลักวิทยาศาสตร์ไม่ให้เชื่อตามคำเล่าลือที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น.ซึ่งนับเป็นประกาศทางวิทยาศาสตร์ฉบับแรกของประเทศ
ในพระราชฐานของพระองค์ ทั้งที่กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัดจะมีหอดูดาว โดยเฉพาะหอชัชวาลเวียงชัย ในบริเวณพระนครคีรีหรือเขาวัง พระราชวังสำหรับแปรพระราชฐาน อยู่ที่จังหวัดเพชรบุรี ที่มีความสำคัญมากในประวัติศาสตร์วิชาดาราศาสตร์ของไทย ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้เป็นสถานที่สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ ในการรักษาเวลามาตรฐานของประเทศไทยต่อไป ดังนั้นหอนี้จึงเป็นอนุสรณ์แห่งสัมฤทธิผลในทางวิทยาศาสตร์เรื่องระบบเวลา พระองค์ทรงสถาปนาระบบเวลามาตรฐานขึ้นในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2395 โดยสร้างพระที่นั่งภูวดลทัศไนยขึ้นในพระบรมราชวัง ใช้เป็นหอนาฬิกาหลวงบอกเวลามาตรฐานของประเทศไทยสมัยนั้น โดยมีพนักงานตำแหน่งพันทิวาทิตย์ เทียบเวลาตอนกลางวันจากดวงอาทิตย์ และพันพินิตจันทรา เทียบเวลาตอนกลางคืนจากดวงจันทร์
ต่อมาในวันศุกร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2411 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค โดยเรือพระที่นั่งอรรคราชวรเดชจากท่านิเวศวรดิษฐ์ไปยังบ้านหว้ากอ พร้อมด้วยพระราชโอรส พระราชธิดา รวมทั้งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ฯ (รัชกาลที่ 5) ขณะพระชนมายุ 16 พรรษา กับเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ ข้าราชบริพารจำนวนมาก ด้วยทรงตั้งพระปณิธานแน่วแน่ที่จะพิสูจน์ผลการคำนวณของพระองค์ เพื่อทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงที่ทรงคำนวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะเกิดในวันอังคาร ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิศก จุลศักราช 1230 โดยจะเห็นหมดดวงและชัดเจนที่สุด คือ ที่หมู่บ้านหัววาฬ ตำบลหว้ากอ เมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตั้งแต่บริเว เกาะจาน ขึ้นไปถึงปราณบุรี และลงไปถึงเมืองชุมพร จึงโปรดฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ไปสร้างค่ายหลวงและพลับพลาที่ประทับ พร้อมกับเชิญคณะนักดาราศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส และเซอร์แฮรี ออด เจ้าเมืองสิงคโปร์เดินทางมาเข้าเฝ้าฯ และร่วมในการสังเกตการณ์ ซึ่งเมื่อถึงวันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 เหตุการณ์ก็เป็นไปตามที่พระองค์ทรงพยากรณ์ทุกประการ ไม่คลาดเคลื่อนแม้แต่วินาทีเดียว
สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ มีแนวคิดว่าน่าจะถือเอาวันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันวิทยาศาสตร์ไทย ต่อมาวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2525 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น \”พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย\” พร้อมทั้งกำหนดให้วันที่ 18 สิงหาคม เป็น \”วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ\” และต่อมาได้มีการสร้าง \”อุทยานวิทยาศาสตร์\” ที่ บ้านหว้ากอ ซึ่งพระบาทปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่ออุทยานนี้ว่า \”อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์\” และได้รับพระบรมราชานุญาตให้จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมรูปหล่อประทับนั่งบนพระเก้าอี้ฉลองพระองค์เครื่องแบบทหารเรือ ชุดเดียวกับวันที่พระองค์ท่านเสด็จพระราชดำเนินมาบ้านหว้ากอ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 (พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย)
นิทรรศการออนไลน์ เรื่อง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 (พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย)
Fanpage : https://www.facebook.com/scipkru
Website : http://science.pkru.ac.th
วิทยาศาสตร์ ป.1 ท้องฟ้าในเวลากลางวันกลางคืน Sky(Earth’s system Science) Lipda EP.12 อะไรอยู่บนฟ้า
หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ปี 2560
ตัวชี้วัด วิชาวิทยาศาสตร์ ว 3.1 ป.1/1 ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน และกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้
ตัวชี้วัด วิชาวิทยาศาสตร์ ว 3.1 ป.1/2 อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์
หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ปี 2551
๑. ระบุว่าในท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และดวงดาว
เรียนผู้ชมทุกท่าน จุดประสงค์ของผู้ผลิตเพื่อใช้เป็นการ์ตูนเพื่อให้ความรู้และความสนุกสนานเพื่อให้เด็กๆอยากเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัว ขอบคุณสำหรับการรับชม หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมานะที่นี้ด้วย ทางผู้ผลิต พร้อมรับข้อผิดพลาดเพื่อปรับปรุงและแก้ไขต่อไป ขอบคุณครับ
ทีมงานผู้ผลิตการ์ตูน Lipda Pola
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม/สั่งซื้อหนังสือแบบเรียน/สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์/Day camp/จัดห้องเรียน/เทรนนิ่ง/สั่งซื้อหุ่นยนต์ mBot
Facebook : Imagineering
https://www.facebook.com/Imagineering…
Makeblock Imagineering
https://www.facebook.com/Makeblockim…
Website : www.imagineering.co.th
https://imagineering.co.th/
Email : [email protected]
เบอร์โทรศัพท์ : 02331272930/0864151759 ครูเหน่ง/0933646914 ครูติ๊ก
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
วิทยาศาสตร์ ป.5 โซ่อาหาร Food chain(Life Science) Lipda Pola DIY KIDS EP.5 ตอน ห่วงโซ่อาหาร
หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ฉบับปรับปรุง 2560
ตัวชี้วัด วิทยาศาสตร์ ว 1.1 ป5/2 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
ตัวชี้วัด วิทยาศาสตร์ ว 1.1 ป5/3 เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร
• ในแหล่งที่อยู่หนึ่ง ๆ สิ่งมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์ ซึ่งกันและกันและสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต เช่น ความสัมพันธ์กัน ด้านการกินกันเป็นอาหาร เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัยและเลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้อากาศในการหายใจ
• สิ่งมีชีวิตมีการกินกันเป็นอาหาร โดยกินต่อกันเป็นทอด ๆ ในรูปแบบของโซ่อาหาร ทำให้สามารถระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค
เรียนผู้ชมทุกท่าน จุดประสงค์ของผู้ผลิตเพื่อใช้เป็นการ์ตูนเพื่อให้ความรู้และความสนุกสนานเพื่อให้เด็กๆอยากเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัว ขอบคุณสำหรับการรับชม หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมานะที่นี้ด้วย ทางผู้ผลิต พร้อมรับข้อผิดพลาดเพื่อปรับปรุงและแก้ไขต่อไป ขอบคุณครับ
ทีมงานผู้ผลิตการ์ตูน Lipda Pola
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม/สั่งซื้อหนังสือแบบเรียน/สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์/Day camp/จัดห้องเรียน/เทรนนิ่ง/สั่งซื้อหุ่นยนต์ mBot
Facebook : Imagineering
https://www.facebook.com/Imagineering706643252724082/?ref=page_internal
Makeblock Imagineering
https://www.facebook.com/MakeblockimagineeringThailand569716430051724/
Website : www.imagineering.co.th
https://imagineering.co.th/
Email : [email protected]
เบอร์โทรศัพท์ : 02331272930/0864151759 ครูเหน่ง/0933646914 ครูติ๊ก
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Economy
469672 138115Wow, incredible weblog format! How lengthy have you been blogging for? you make running a weblog glance effortless. The full glance of your internet site is fantastic, as smartly the content material! 888482
638152 51993really nice post, i undoubtedly adore this remarkable internet site, carry on it 112601
885149 204863I really like this info presented and possesses given me some type of resolve forpersistance to succeed i actually enjoy seeing, so sustain the superb work. 33250
507683 52958An intriguing discussion is worth comment. I believe that you ought to write regarding this topic, it might not be a taboo subject but generally persons are too couple of to chat on such topics. To another location. Cheers 776920
687359 371324Very exceptional data can be found on weblog . 675460
881498 514944great . Thanks for informations . Ill be back. Thanks once more 77862
46070 273699As soon as I identified this internet web site I went on reddit to share some of the adore with them. 809607
808419 84317Theres noticeably a bundle to find out about this. I assume you created certain great points in functions also. 244382
174539 668592Thanks for the post. I like your writing style – Im trying to start a weblog myself, I feel I may read thru all your posts for some suggestions! Thanks once far more. 984200
839510 666078I genuinely prize your work , Excellent post. 537832
158296 499546As being a Newbie, Were permanently exploring online for articles which can be of support to me. Many thanks 268676