พุทธทาส ภิกขุ – หลักปฏิบัติเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท | องค์ประกอบ ปฏิจจสมุปบาท

พุทธทาส ภิกขุ – หลักปฏิบัติเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปัญโญ) ตามรอยพุทธทาส
หลักปฏิบัติเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท
แผนกเผยแผ่พระพุทธศาสนา
สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
The Council of Thai Bhikkhus in the U.S.A.
พุทธมงคลรัตน์ เพื่อพุทธศาสตร์
วัดมงคลรัตนาราม ฟอร์ท วัลตัน บีช รัฐฟลอริดา

พุทธทาส ภิกขุ - หลักปฏิบัติเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท

ปฏิจจสมุปบาท @ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี


ขอเชิญท่านรับฟังธรรมะที่สนใจ https://www.youtube.com/user/kancha085
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี https://www.youtube.com/watch?v=isL2S_R5ClA\u0026list=PLS27KLBZvtnfFoDa46ci2HLQ_7hIeqrLi
พระอาจารย์สมภพ โชติปัญโญ https://www.youtube.com/watch?v=FjZiQNdFM_s\u0026list=PLS27KLBZvtnfCEDdusUCRzp8FnnftHN5W\u0026index=1
หลวงปู่ชา สุภัทโท https://www.youtube.com/watch?v=xcnOak4go\u0026list=PLS27KLBZvtndRMWjYCBwWScozy2thX5h\u0026index=1
ท่านพุทธทาสภิกขุ https://www.youtube.com/watch?v=DJTW6FsYlHg\u0026list=PLS27KLBZvtnfWk4yv7TLOFGdyPMFqrqMj
หลวงพ่อพุธ ฐานิโย https://www.youtube.com/watch?v=dHlkjGeydm4\u0026list=PLS27KLBZvtndz8OxnVTtLOePRyRzqAgk2
หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ https://www.youtube.com/watch?v=pARTNdPpJ9Q\u0026index=1\u0026list=PLS27KLBZvtndPCfCG4MHpt1hD8LnnNp
พระอาจารย์มหาสม สิริปัญโญ https://www.youtube.com/watch?v=kaeQ9rHkzM\u0026index=1\u0026list=PLS27KLBZvtnejQQeo8WQ_8l3h8XSUhUvQ
ท่าน ว.วชิรเมธี https://www.youtube.com/watch?v=Ylg0sYCe86Y\u0026list=PLS27KLBZvtnemYdAJESkbBZ3tgQGU22dh
เกร็ดธรรมะ https://www.youtube.com/watch?v=Eytv9SMOIU\u0026list=PLS27KLBZvtnd4U_T77h5O9xRGDzHKGXWT

ประวัติ พระราชนิโรธรังสีคัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ (เทสก์ เทสรังสี)
พระราชนิโรธรังสีคัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี) วัดหินหมากเป้ง อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
นามเดิมว่า เทสก์ เรี่ยวแรง เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๕ ปีขาล ณ บ้านสีดา ตำบลกลางใหญ่ จังหวัดอุดรธานี บิดาชื่อ อุส่าห์ เรี่ยวแรง เดิมเป็นชาวอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
เมื่ออายุ 16 ปี หลวงปู่เทสก์ ได้ติดตามพระอาจารย์สิงห์ รอนแรมไปในป่า เป็นเวลาเดือนกว่า จึงถึงเมืองอุบลฯ หลวงปู่ไปบรรพชาเป็นสามเณร โดยมีพระอาจารย์ลุย บ้านดงเค็งใหญ่ เป็นพระอุปัชฌาย์ บรรชาแล้วได้ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม จนสอบนักธรรมชั้นตรี ได้ในปีที่มีอายุครบ ๒๐ และวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๔๖๖ จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดสุทัศน์ อำเภอเมือง อุบลราชธานี โดยมี พระมหารัฐ เป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระมหาปิ่น ปญฺญาพโล เป็นพระกรรมวาจาจารย์
หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี นับเป็นลูกศิษย์ ที่สำคัญยิ่งของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตโต องค์หนึ่ง ท่านได้อุตสาหะปฏิบัติบำเพ็ญธรรมด้วยชีวิตเป็นเดิมพัน หลวงปู่ฯ ได้บำเพ็ญกรณียกิจ เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน และความเจริญมั่นคงแห่งพระศาสนา โดยไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคต่าง ๆ และด้วยจิตใจที่แน่วแน่มั่นคง ผู้ที่เคยได้กราบนมัสการท่าน มักพูดในทำนองเดียวกันว่า ได้รับความอิ่มใจและเป็นบุญของเขาที่ได้มีโอกาสกราบนมัสการท่าน ทั้งนี้คงเป็นเนื่องจากบารมีธรรมที่หลวงปู่ได้บำเพ็ญเพียรปฏิบัติมาและเมตตาจิต ที่หลวงปู่แผ่มายังบุคคลเหล่านั้นนั่นเอง
ท่านอาพาธหนักครั้งสุดท้าย เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๗ และถึงแก่มรณะภาพด้วยอาการอันสงบ เมื่อเวลา ๒๑ นาฬิกาเศษ ของวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๗ ณ วัดถ้ำขาม อ.พรรณนิคม จ.สกลนคร สิริอายุได้ ๙๒ ปี ๗ เดือน ๒๑ วัน
หากท่านมีความสนใจศึกษาเพิ่มเติม http://www.dhammathai.org/sounds/tesk.php
ถ้าหากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขอโทษขออภัยแก่ผู้รับฟังด้วย และขอน้อมรับการปรับปรุงแก้ไขทุกประการ

See also  การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน จะต่อสูตรใหนดี ให้ลูกดกต่อเนื่อง|วังอโกร | ปาล์มขาดคอ | ปุ๋ยปาล์ม | การ ดูแล สวน ปาล์ม

ปฏิจจสมุปบาท @ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

เพลงปฏิจจสมุปบาท สันโดษ ธรรมะคีตะ


ปฏิจจสมุปบาท กงกรรมกงเกวียน วนเวียนชีวิต หากธรรมะผิดเพี้ยนไปในพระธรรมคำสอน ก็ต้องกราบขออภัยไว้ในที่นี้ด้วยนะครับ บทเพลงก็คือความคิดปรุงแต่งอย่างหนึ่ง ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นใดๆ ใช้ฟังเพื่อความบันเทิงเท่านั้นครับ ขอบคุณภาพประกอบในเพลงด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

เพลงปฏิจจสมุปบาท สันโดษ  ธรรมะคีตะ

บทสวด ปฏิจจสมุปบาท พุทธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล


บทสวด ปฏิจจสมุปบาท
พุทธวจน ธรรมวินัยจากพุทธโอษฐ์
ปฏิจจสมุปบาทจากพุทธโอษฐ์ บทสัชฌายะ(สาธยาย)
โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล
อนุสาสนีปาฏิหาริย์แห่งการสวดสาธยาย
https://youtu.be/KNZfwpZkduI
https://youtu.be/lkqOrenSvfM
ท่านพระอาจารย์คึกฤทธิ์
อธิบายกฏอิทัปปัจจยตา ปฏิจจสมุปบาท อย่างละเอียด
https://youtu.be/Gqh1dB7I2Js
เสียงอ่านหนังสือพุทธวจน ๖ ฉบับ อานาปานสติ
ดาวน์โหลดเสียงอ่าน \”พุทธวจน ชุด อานาปานสติ\”
ซึ่งเป็นที่มานี้ได้จาก :
http://watnapp.com/audio
http://watnapp.com/video
พุทธวจน:หนังสือ:
http://watnapp.com/book
ดาวน์โหลด http://watnapp.com/files
ETipitaka+ (ค้นหาพุทธวจน)
http://etipitaka.com/
FAQ คำถามที่พบบ่อย
http://bhikkhukukrit.com/
พุทธวจน 6 อานาปานสติ
https://youtu.be/wgP0kV5R0Aw
เนื้อหาเสียงอ่านหนังสือพุทธวจน ๖ ฉบับ อานาปานสติ มีดังนี้
1.พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอยู่ตลอดพรรษากาลเป็นอันมาก
ด้วยวิหารธรรมคือ อานาปานสติสมาธิ
2.อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ ๒ ประการ
3.เจริญอานาปานสติ เป็นเหตุให้ สติปัฏฐาน ๔
โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์
4.การเจริญอานาปานสติ (ตามนัยแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร)
5.อานาปานสติ เป็นเหตุให้ถึงซึ่งนิพพาน
6.แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่หนึ่ง)
7.แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่สอง)
8.เจริญอานาปานสติ ชื่อว่าไม่เหินห่างจากฌาน
9.ธรรมเป็นอุปการะเฉพาะแก่อานาปานสติภาวนา
10.นิวรณ์เป็นเครื่องทำากระแสจิตไม่ให้รวมกำาลัง
11.ข้อควรระวัง ในการเจริญสติปัฏฐานสี่
คำถามที่พบบ่อย
https://faq.watnapp.com/
http://etipitaka.com/
ที่มา :http://watnapp.com/
กราบขอบพระคุณท่าน พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
วัดนาป่าพง และภัณเต ทุกท่าน ที่เปิดธรรมที่ถูกปิด
กราบขออนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ

See also  [Update] วารสารวิชาการ / UMT Journal | วารสาร pdf - Sathyasaith

บทสวด ปฏิจจสมุปบาท พุทธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตถิผโล

ฟังแล้วดีเกิดผลชีวิตเป็นสุขทุกประการเทอญ พุทธวจน สาธยาย ปฏิจจสมุปบาท บาลี ไทย ๒ ชม


ปฏิจจสมุปบาท (ปะติดจะสะหฺมุบบาด) เป็นชื่อพระธรรมหัวข้อหนึ่งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารจึงมี
เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย นามรูปจึงมี
เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปทานจึงมี
เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา
หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา
อธิบายความหมายของบทสวด…
ความทุกข์ จะดับไปได้เพราะ ชาติ (การเกิดอัตตา\”ตัวตน\”คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ
ชาติ จะดับไปได้เพราะ ภพ (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ) ดับ
ภพ จะดับไปได้เพราะ อุปาทาน (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ) ดับ
อุปาทาน จะดับไปได้เพราะ ตัณหา (ความอยาก) ดับ
ตัณหา จะดับไปได้เพราะ เวทนา (ความรู้สึกทุกข์หรือสุขหรือเฉยๆ) ดับ
เวทนา จะดับไปได้เพราะ ผัสสะ (การสัมผัส) ดับ
ผัสสะ จะดับไปได้เพราะ สฬายตนะ (อายตนะใน๖+นอก๖) ดับ
สฬายตนะ จะดับไปได้เพราะ นามรูป (รูปขันธ์) ดับ
นามรูป จะดับไปได้เพราะ วิญญาณ (วิญญาณขันธ์) ดับ
วิญญาณ จะดับไปได้เพราะ สังขาร (อารมณ์ปรุงแต่งวิญญาณเจตสิก) ดับ
สังขาร จะดับไปได้เพราะ อวิชชา (ความไม่รู้อย่างแจ่มแจ้ง) ดับ
อายตนะ (อ่านว่า อายะตะนะ) แปลว่า ที่เชื่อมต่อ, เครื่องติดต่อ หมายถึง
สิ่งที่เป็นสื่อสำหรับติดต่อกัน ทำให้เกิดความรู้สึกขึ้น แบ่งเป็น 2 อย่างคือ
1.อายตนะภายใน หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคน บ้างเรียกว่า อินทรีย์
6 มี 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะ
ภายนอก
2.อายตนะภายนอก หมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคน บ้างเรียกว่า
อารมณ์ 6 มี 6 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ[1] ธรรมารมณ์[2] ทั้งหมด
นี้เป็นคู่กับอายตนภายใน เช่น รูปคู่กับตา หูคู่กับเสียง เป็นต้น
อายตนะภายนอกนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อารมณ์ เมื่อตาเห็นรูป เรียกว่า
สัมผัส รู้ว่ามีการเห็น เรียกว่าวิญญาณ เกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูป
เรียกว่า เวทนา
[1]โผฏฐัพพะ คือ สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่กายสัมผัสแตะต้องได้
ได้แก่ อารมณ์หรือสัมผัสที่มีลักษณะเย็น ร้อน อ่อน แข็ง หยาบ
ละเอียดเป็นต้น ซึ่งมากระทบหรือสัมผัสกับกาย และกายสามารถ
รู้สึกได้ถึงลักษณะนั้น เช่น น้ำกระเซ็นมาถูกแขน แขนก็รู้สึกถึงสิ่ง
ที่มาถูกนั้น
[2]ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่ใจรู้หรืออารมณ์ที่เกิดทางใจสิ่งที่ใจคิด
ความคิด จินตนาการ สิ่งที่ใจเก็บมาคิด ที่เป็นอดีต ปัจจุบัน อนาคต
แ้ล้วหน่วงดึงมาเป็นอารมณ์ หรือสิ่งที่เกิดขึ้นในใจ สัมผัสด้วยใจ
ขันธ์ แปลว่า กอง, หมวด, หมู่, ส่วน ในทางพุทธศาสนาหมายถึง
ร่างกายของมนุษย์ คือแยกร่างกายออกเป็นส่วนๆ ตามสภาพได้ 5 ส่วน
หรือ 5 ขันธ์ คือ
1.รูป ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เช่น ผม หนัง กระดูก
โลหิต
2.เวทนา ได้แก่ ระบบประมวลความรู้สึกว่า ชอบหรือไม่ชอบ และเฉยๆ
3.สัญญา ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
4.สังขาร ได้แก่ ระบบคิดปรุงแต่ง แยกแยะสิ่งที่รับรู้สึกและจำได้นั้นๆ
5.วิญญาณ ได้แก่ ระบบรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม
เมื่อจัดขันธ์เข้าในปรมัตถธรรม
วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต
เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก
รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป
การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน

See also  วิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Environment Conservation) | เรียงความ เรื่อง การ อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม

ฟังแล้วดีเกิดผลชีวิตเป็นสุขทุกประการเทอญ พุทธวจน สาธยาย ปฏิจจสมุปบาท บาลี ไทย ๒ ชม

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆEconomy

11 thoughts on “พุทธทาส ภิกขุ – หลักปฏิบัติเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท | องค์ประกอบ ปฏิจจสมุปบาท”

  1. 359700 22655But wanna remark that you have a quite decent internet website , I adore the style it genuinely stands out. 172943

    Reply
  2. 290529 433462The planet are truly secret by having temperate garden which are usually beautiful, rrncluding a jungle that is definitely definitely profligate featuring so many systems by way of example the game courses, golf approach and in addition private pools. Hotel reviews 355775

    Reply
  3. 882616 809646Im not that significantly of a internet reader to be honest but your blogs really nice, maintain it up! Ill go ahead and bookmark your internet site to come back inside the future. All of the very best 692998

    Reply
  4. 885805 605233I havent checked in here for some time as I thought it was finding boring, but the last couple of posts are fantastic quality so I guess Ill add you back to my everyday bloglist. You deserve it my friend 402953

    Reply

Leave a Comment