ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก | อุตรกุรุทวีป

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

บทสวดมนต์ บทนี้โมทนาบุญกับท่านเจ้าของภาพ ทุกท่าน และท่านเจ้าของบทประพันธ์เนื้อร้องทำนอง ขอให้เจริญในทางโลกและทางธรรม

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก

อุตรกุรุทวีป: สังคมอุดมคติคนโบราณสู่สังคมอุดมคติคนรุ่นใหม่


เรื่อง: อุตรกุรุทวีป: สังคมอุดมคติคนโบราณสู่สังคมอุดมคติคนรุ่นใหม่
ูผู้จัดทำ: นายเจษฎากร อัครทรัพย์สกุล รหัสนักศึกษา 64121109001
สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อาจารย์ประจำรายวิชา: อ.ดร.บัวลักษณ์ เพชรงาม
วิดีโอนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้รายวิชา ภาษาเพื่อการสื่อสาร (EDC 1101) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

See also  ริดสีดวงทวาร อย่าอาย รู้ไว้ ไม่ต้องผ่าตัด | RAMA CHANNEL | สมุนไพร ริดสีดวง

อุตรกุรุทวีป: สังคมอุดมคติคนโบราณสู่สังคมอุดมคติคนรุ่นใหม่

ไตรภูมิกถา (ไตรภูมิพระร่วง)


ไตรภูมิพระร่วง มีหลายชื่อเรียกได้แก่ \”ไตรภูมิพระร่วง\” \”เตภูมิกถา\” \”ไตรภูมิกถา\” \”ไตรภูมิโลกวินิจฉัย\” และ \”เตภูมิโลกวินิจฉัย\”
เป็นวรรณกรรมศาสนาพุทธที่แต่งในสมัยสุโขทัยประมาณ พ.ศ. 1888 โดยพระราชดำริในพระยาลิไท รวบรวมจากคัมภีร์ในศาสนาพุทธ มีเนื้อหาเกี่ยวกับโลกสัณฐาน ที่แบ่งเป็น 3 ส่วน หรือ ไตรภูมิ ได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ
วรรณคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ คติความเชื่อของชาวไทย เป็นจำนวนมาก เช่น นรก สวรรค์ การเวียนว่ายตายเกิด ทวีปทั้งสี่ (เช่น ชมพูทวีป ฯลฯ) กัป กลียุค วาระสุดท้ายของโลก พระศรีอริยเมตไตรย พระเจ้าจักรพรรดิ ฯลฯ
ประวัติ
ไตรภูมิพระร่วง เป็นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาที่ 1 ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อ วันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ปีระกา ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1864 (ปีเก่า) จ.ศ.683 ม.ศ.1243 เป็นปีครองราชย์ที่ 6 โดยมีพระประสงค์ที่จะเทศนาโปรดพระมารดา และเพื่อจำเริญพระอภิธรรม ไตรภูมิพระร่วงเป็นหลักฐานชิ้นหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถอย่างลึกซึ้ง ในด้านพุทธศาสนาของพระมหาธรรมราชาลิไทที่ทรงรวบรวมข้อความต่างๆ ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา นับแต่พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์พิเศษต่างๆ มาเรียบเรียงขึ้นเป็นวรรณคดีโลกศาสตร์เล่มแรกที่แต่งเป็นภาษาไทยเท่าทีมีหลักฐานอยู่ในปัจจุบันนี้ [1] ทั้งนี้ อ.สินชัย กระบวนแสง ได้วิเคราะห์เหตุผลการแต่งไตรภูมิพระร่วงของพระมหาธรรมราชาลิไท ว่าจะเกี่ยวข้องกับเรื่องการเมืองด้วย[ต้องการอ้างอิง] เนื่องจากไตรภูมิเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับนรกสวรรค์ สอนให้คนรู้จักการทำความดีเพื่อจะได้ขึ้นสวรรค์ หากแต่ใครทำชั่วประพฤติตนผิดศีลก็จะต้องตกนรก กล่าวคือ ประชากรในสมัยที่พระมหาธรรมราชาลิไทปกครองนั้นเริ่มมีมากขึ้นกว่าแต่ก่อน ทำให้การปกครองบ้านเมืองให้สงบสุขปราศจากโจรผู้ร้ายเป็นไปได้ยากยิ่งขึ้น การดูแลของรัฐก็ไม่อาจดูแลได้ทั่วถึง พระมหาธรรมราชาลิไทจึงได้คิดนิพนธ์วรรณกรรมทางศาสนาเรื่องไตรภูมิพระร่วงขึ้นมาเพื่อที่ต้องการสอนให้ประชาชนของพระองค์ทำความดี เพื่อจะได้ขึ้นสวรรค์มีชีวิตที่สุขสบาย และหากทำความชั่วก็จะต้องตกนรก ด้วยเหตุนี้วรรณกรรมเรื่องไตรภูมิจึงเป็นสิ่งที่ใช้ควบคุมทางสังคมได้เป็นอย่างดียิ่ง เพราะสามารถเข้าถึงจิตใจทุกคนได้โดยมิต้องมีออกกฎบังคับกันแต่อย่างไร
เนื้อหา
ไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมทางพุทธศาสนาที่กล่าวถึงภูมิ (แดน) ทั้ง 3 คือ กามภูมิ 11, รูปภูมิ 16 และอรูปภูมิ 4 ซึ่งมีเนื้อหาพรรณนาถึงที่อยู่ ที่ตั้ง และการเกิดของมนุษย์ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และเทวดา ที่ตั้งเหล่านี้มีเขาพระสุเมรุเป็นหลัก เขาพระสุเมรุนั้นตั้งอยู่ท่ามกลางจักรวาล มีทิวเขาและทะเลล้อม ทิวเขามีชื่อต่างๆดังนี้ 1. ยุคนธร 2. อิสินธร 3. กรวิก 4. สุทัศน์ 5. เนมินธร 6. วินันตก และ7.อัศกรรณ ซึ่งเป็นเขารอบนอกสุด ทิวเขาเหล่านี้รวมเรียกว่าเขาสัตตบริภัณฑ์ ส่วนทะเลที่รายล้อมอยู่ 7 ชั้น เรียกว่า สีทันดร ถัดจากทิวเขาอัศกรรณออกมาเป็นมหาสมุทรอยู่ทั่วทุกด้าน แล้วจะมีภูเขาเหล็กกั้นทะเลนี้ไว้รอบเรียกว่า ขอบจักรวาล พ้นไปนอกนั้นเป็นนอกขอบจักรวาล

See also  01 เทคโนโลยีการสื่อสาร | เทคโนโลยี การ สื่อสาร ไร้ สาย
See also  [NEW] OTOPTODAY : ศูนย์รวมสินค้า OTOP ที่ใหญ่ที่สุด กรมการพัฒนาชุมชน | ตรา ม ทร อีสาน - Sathyasaith

ไตรภูมิกถา (ไตรภูมิพระร่วง)

อุตรกุรุทวีป


อุตรกุรุทวีป

พระมหาโมคคัลลานะขอไปบิณฑบาตที่อุตตรกุรุทวีป


เผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและของมหาปูชนียาจารย์

พระมหาโมคคัลลานะขอไปบิณฑบาตที่อุตตรกุรุทวีป

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Economy

9 thoughts on “ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก | อุตรกุรุทวีป”

  1. 34254 577225You can undoubtedly see your skills within the work you write. The world hopes for more passionate writers like you who arent afraid to say how they believe. At all times follow your heart 222351

    Reply

Leave a Comment