วิธีฉีดสารแพคโคลบิลทราโซล ทุเรียนต้นใหญ่ ทำอย่างไร : ต้นไม้และสวน TV | สารพาโคลบิวทราโซล

วิธีฉีดสารแพคโคลบิลทราโซล ทุเรียนต้นใหญ่ ทำอย่างไร : ต้นไม้และสวน TV


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ทุเรียน ผู้ใหญ่ดำรงค์ศักดิ์ l ผู้ใหญ่ดำรงค์ศักดิ์ สินศักดิ์ พาไปดูวิธีการฉีดสารแพคโคลบิลทราโซล ในทุเรียนต้นใหญ่อายุ 20 ปี มีวิธีผลสมสารอย่างไร และฉีดอย่างไร ให้เหมาะสมไม่เป็นอันตรายกับต้นทุเรียนในระยะยาว

วิธีฉีดสารแพคโคลบิลทราโซล ทุเรียนต้นใหญ่ ทำอย่างไร : ต้นไม้และสวน TV

EP 7 สารแพคโคฯ ตอน 1


EP.7 สารแพคฯ ตอน 1
มาทำความรู้จักการทำสารทุเรียน สาระความรู้จาก สมาคมทุเรียนไทย(TDA)
มาแนะนำให้รู้จักการทำสาร \”แพคโคบิวทราซอล\” เริ่มจากมือใหม่ไปจนถึงมืออาชีพ
ติดตามรับชมกันได้จากคลิปนี้เลยครับ
ขอขอบคุณ
พี่น้ำ น้องฟ้า จ๊อดซัง

ทีมงานสมาคมทุเรียนไทย(TDA)

EP.7 สารแพคฯ ตอน 1: https://youtu.be/p5h52uuVqPY
EP.7 สารแพคฯ ตอน 2: https://youtu.be/sRov0Q3hYCQ
EP.7 สารแพคฯ ตอน 3: https://youtu.be/xNpNZGvweA
EP.7 สารแพคฯ ตอน 4: https://youtu.be/ESwm4MrETVg
EP.7 สารแพคฯ ตอน 5: https://youtu.be/IBcCk1BC0CA

EP 7 สารแพคโคฯ ตอน 1

JN-EP50 คุยกันในสวน การใช้สารพาโคลบิวทราโซล ทุเรียนอายุ 5 ปี ทุเรียนออกลูกดี แต่ก็มีข้อควรระวัง


คลิปนี้ อ.ลำแพน และคุณจุ๋ม นวลนภา คุยกันในสวน ประเด็น การใช้สารพาโคลบิวทราโซล
ในต้นทุเรียนอายุ 5 ปี ให้ผลผลิตปีแรก ดูการเจริญเติบโตของผลช่วงอายุ 45 วันแรก ข้อดี ข้อเสีย และข้อควรระวังของการทำสาร
การติดตามการไว้ลูกต่อต้น ปริมาณลูก ปรากฎว่า เห็นความแตกต่างได้ชัดระหว่าง ต้นที่โฉบสาร กับต้นที่ไม่ได้โฉบสาร คือ ต้นที่โฉบสารออกดอก เกิน 70% ของจำนวนต้น แต่ต้นที่ไม่ได้ทำสาร ทั้งหมด 78 ต้น ออกดอกเพียง 2 ต้น (ประมาณ 2.3 % ของต้นทั้งหมด)
ประสบการณ์นี้อยากแชร์ให้กับเกษตรกรรุ่นใหม่ว่าการทำทุเรียน โดยเฉพาะปีแรกๆของการเอาผลผลิต ในสภาพอากาศที่แปรปรวน จะได้ดอกยากมาก แนวทางที่น่าศึกษาไว้ก็คือ การบำรุงต้นให้สมบูรณ์พอ และการโฉบสาร ในวงวิชาการ เราคุยกันว่า ต้นทุเรียนอายุ 45 ปี ยังมีปริมาณฮอร์โมนที่ส่งผลการเติบโตทางกิ่ง ก้าง ลำต้นมาก ทำให้การสะสมอาหารเพื่อการออกดอกน้อย
ทำสารเร่งสะสมอาหาร เพิ่มโอกาสในการออกดอก
พาโคลบิวทราโซล ไม่ใช่สารเร่งการออกดอก แต่เป็นสารที่มีกลไกการทำงานยับยั้ง ชะลอการเติบโตทางกิ่งก้านใบของพืช แทนที่พืชจะเอาน้ำตาล แป้งที่ได้จากการสังเคราะห์แสงไปใช้ในกระบวนการเติบโตทางกิ่งก้านใบ เราก็ใช้พาโคลบิวทราโซลไปหยุดการกินอาหารของพืช เพื่อให้ต้นสะสมอาหารไว้สำหรับออกดอกบ้าง
หมายความว่า พาโคลบิวทราโซล ไม่ใช่สารเร่งการออกดอก แต่เพิ่มโอกาสในการออกดอก
ใน 2 ปีที่ผ่านมา จากการเข้าสวนเก็บตัวอย่างหลายแปลง พบว่า ทุเรียนอายุ 4 ปี ก็เริ่มใช้ พาโคลบิวทราโซล เพื่อเปิดโอกาสให้ต้นออกดอก
สิ่งที่เกษตรกรต้องเข้าใจคือ พาโคลบิวทราโซล นั้น ทำงานอย่างไร เมื่อเข้าใจว่าเป็นสารที่มีกลไกการทำงานยับยั้งการเจริญเติบโต ก็ต้องเรียนรู้ว่า แล้วพืชตอบสนองต่อสารอย่างไร และมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาอย่างไร
พ่นสารไป 45 วัน ถ้าอากาศเป็นใจ ได้ดอก แล้วจะต้องทำอย่างไร เพื่อลดบทบาทของพาโคลบิวทราโซล และผลของพาโคลบิวทราโซลมีไปถึงเท่าไร แก้ไขอย่างไร การล้างสารทำอย่างไร
พ่นสารไป 45 วัน ถ้าอากาศไม่เป็นใจ ไม่มีลมโยกต้น พายุฝนก็ตกกระหน่ำมา แทนที่จะได้ดอก ตายอดกลับเริ่มผลิแดงมา จะทำอย่างไรต่อไปดี?
หลังจากทำสารแล้ว ได้ลูกแล้ว การบำรุงต้นให้กลับมาฟื้นคืนสภาพหลังจากการใช้พาโคลบิวทราโซลแล้วต้องทำอย่างไร
สิ่งเหล่านี้ ส่งผลต่ออายุของพืช ส่งผลต่อการแก่ชราของพืช เกษตรกรต้องมีความเข้าใจ และพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของพืช
สารพาโคลบิวทราโซล ใช้กับสวนทุเรียน อายุ 4 ปี ใครๆก็ใช้กันครับ ใช้กันแพร่หลาย แต่คนที่จะสามารถบริหารจัดการ สุขภาพของต้นให้มีอายุยืนยาว และให้ผลผลิตได้ต่อเนื่องหลายปี โดยการทำสารตลอดอย่างต่อเนื่อง มีไม่มากครับ เพราะเขาเหล่านั้นต้องรู้เรื่องต้นทุเรียนพอสมควร
ถ้าหากไม่รู้และใช้ตามคนอื่น ผลลัพธ์ที่ได้ อาจจะเป็นผลร้ายมากกว่าผลดีก็ได้
สารพาโคลบิวทราโซล ใช้กับสวนทุเรียน อายุ 4 ปี ใช้ได้มั้ย ผลการดูสวนของเรา ใช้ได้ครับ ใครๆก็ใช้ แต่ใช้แล้ว จะบริหารจัดการอย่างไร เป็นเรื่องท้าทายครับ
แปลงทุเรียนต้นคู่ หมอนทอง อายุ 5 ปี
จำนวน 8 แถว ใช้สารพาโคล 5 แถว
ไม่ได้ใช้ 3 แถว เปรียบเทียบการติดดอกผล
ถ่ายทำคลิป 15 มีนาคม 2563
แปลงทุเรียนต้นคู่ ฤดูกาลผลิต 256263
ให้ผลผลิตปีแรก
การชักนำการออกดอก
สารชะลอการเจริญเติบโต
การใช้พาโคลบิวโทรโซล
ทุเรียนต้นคู่

See also  [Update] จิตตปัญญาศึกษา (ภาคทฤษฎี) : Contemplative Education | ปัญญา คือ - Sathyasaith
See also  [NEW] | ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม - Sathyasaith

คลิปองค์ความรู้ การปลูกและดูแลทุเรียน ต้นคู่
JNEP15 สวนสไตล์ช๊าล..ฮิ สวนทุเรียนต้นคู่ อายุ 4 ปี 8 เดือน เสริมขา บล็อคความสูง ควบคุมทรงพุ่ม
https://youtu.be/KABPEjesNMQ
JNEP16 สวนสไตล์ช๊าล..ฮิ แต่งทรงพุ่มต้นปลูกกิ่งข้างให้สวย การเสริมขา สวนทุเรียนอายุ 4 ปี 9 เดือน
https://youtu.be/NCBPlnixK60
JNEP17 ทุเรียน 4 ปี 9 เดือน วางแผนไว้ลูกปีแรก แนวทางการผลิตทุเรียนคุณภาพ สวนสไตล์ช๊าล..ฮิ
https://youtu.be/Zq_6_3FsN0k
JNEP18 คุยกันในสวน แนวคิดการปลูกทุเรียนต้นคู่ การเสริมขาทุเรียน การดูแลตั้งแต่ปีแรกถึงอายุ 4 ปี
https://youtu.be/Xf2uJIyOzW8
JNEP22 เทคนิคการตัดแต่งกิ่งทุเรียนที่ปลูกต้นพันธุ์กิ่งข้าง คุมทรงพุ่ม ทุเรียนอายุ 14 ปี สไตล์ช๊าล
https://youtu.be/qJ0zYUb_NRI
JNEP23 การวางแผนการผลิต การใช้สารพาโคลบิวทราโซลเพื่อให้ออกดอก สวนทุเรียนต้นคู่ อายุ 5 ปี
https://youtu.be/lR19hYufMMk
JNEP24 คุยกันในสวน ความพร้อมของต้นทุเรียน อายุ 5 ปี การใช้สารพาโคลบิวทราโซล เพื่อควบคุมการเจริญเติบโต เพิ่มโอกาสให้ออกดอก (1 ธันวาคม 2562)
https://youtu.be/rDEHJ5iG4U
JNEP29 แปลงทุเรียนต้นคู่ อายุ 5 ปี ไว้ลูกปีแรก การโฉบสารเพื่อชักนำการออกดอก แนวทางการผลิตตามความต้องการของตลาด (22 ธันวาคม 2562)
https://youtu.be/5ow3gtCRYTE
JNEP40 นักวิชาการ เกษตรกร แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การทำสวนทุเรียนยุคใหม่ (12 กุมภาพันธ์ 2563)
https://youtu.be/OQobbfze5E
JNEP41 นักวิชาการเกษตรกร คุยในสวน การให้น้ำ อุณหภูมิ ความชื้น ที่มีผลต่อทุเรียนในช่วงให้ผลผลิต (12 กุมภาพันธ์ 2563)
https://youtu.be/PiZoOljlIc
JNEP49 นักวิชาการเกษตรกร | ทุเรียนอายุ 5 ปี ทำสาร กับปล่อยออกดอกตามธรรมชาติ เปรียบเทียบ การออกดอก? (12 กุมภาพันธ์ 2563)
https://youtu.be/F190knHXY3Q
JNEP50 คุยกันลั่นสวน การใช้สารพาโคลบิวทราโซล ทุเรียนอายุ 5 ปี ทุเรียนออกลูกดี แต่ก็มีข้อควรระวัง (15 มีนาคม 2563)
https://youtu.be/CB6ySu4hGeg
JNEP36 Double Tree Durian Monthong Orchard แปลงหมอนทองอายุ 5 ปี ไว้ลูกปีแรก ทรงสวย ทุเรียนคุณภาพ (12 เมษายน 2563)
https://youtu.be/LJRWgZV4rA4
JNEP37 ผู้หญิงทำสวน Woman who grow Monthong durian trees ต้นคู่สามต้น แตกต่างอย่างมุ่งมั่น มีสไตล์ (12 เมษายน 2563)
https://youtu.be/gEoDgzD6Z3I
JNEP45 แต่งทรงโหด เพราะเจ๊มีเหตุผล ทุเรียน 5 ปี คุมความสูง 4 ม. ความยาวกิ่ง 2 ม. (28 มิถุนายน 2563)
https://youtu.be/wITcO1TnzMA

See also  [NEW] Theory of stock investment and speculator | ปัจจัย การ ลงทุน - Sathyasaith

JN-EP50 คุยกันในสวน การใช้สารพาโคลบิวทราโซล ทุเรียนอายุ 5 ปี ทุเรียนออกลูกดี แต่ก็มีข้อควรระวัง

สภาพอากาศภาคตะวันออกปี 64 ใช้สารแพคโคลบิวทราซอล แบบไหนตอบโจทย์!?


📍จากการไลฟ์สดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 18 ก.ค.ที่ผ่านมา ได้มีการพูดคุยกันถึงเรื่องของ \”สภาพอากาศและแนวทางการใช้สารแพคโคลบิวทราซอล\” ของภาคตะวันออก🚩ในปี 2564 ซึ่งได้วิทยากรรับเชิญทั้งสามท่าน อย่าง
👨🏼‍🌾อ.สัญชัย โกสัลล์วัฒนา เจ้าของกลุ่ม \”ทำสวนเอาเงิน ไม่ได้เอาเงินทำสวน\”
👨🏻‍🌾อ.ธีรภัทร อุ่นใจ นายกสมาพันธ์ชาวสวนทุเรียนไทยภาคตะวันออก และ
🙋🏻‍♂️คุณล้อแม็ก พิริยศ ควรหา เจ้าของสวนล้อแม็กรีสอร์ท
มาไขข้อข้องใจและเผยแนวทางการใช้สารแพคโคลบิวทราโซลในแปลงที่น่าสนใจ แต่ละท่านจะมีเทคนิคอะไรบ้างนั้น วันนี้หญิงงามนำมาสรุปให้ชมกันค่ะ 💁‍♀️✨

🔸สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ปุ๋ยตราหญิงงาม🔸
เขตภาคตะวันออกและภาคอีสาน ติดต่อ▶️คุณท๊อฟฟี่ โทร. 0968424147
เขตภาคใต้ตอนบน ติดต่อ▶️คุณไก่ 0906231595
เขตภาคใต้ตอนล่าง ติดต่อ▶️คุณเบิร์ด 0829680043
เขตภาคเหนือและภาคกลาง ติดต่อ▶️ 0987727789
.
ตราหญิงงาม duofarm เทคนิคทุเรียนคุณภาพ ต้นไม่โทรม ปุ๋ยตราหญิงงาม ปุ๋ยซัลเฟต100% ปุ๋ยเพิ่มผลผลิต ปุ๋ยเปลี่ยนดิน ปุ๋ยเปลี่ยนพืช ปุ๋ยทุเรียนแข็งแรง ปุ๋ยใช้ดีที่ต้องบอกต่อ
.
เข้ากลุ่มปิด🔒เทคนิคทุเรียนคุณภาพ ต้นไม่โทรม by ปุ๋ยตราหญิงงาม
https://m.facebook.com/groups/2073767546213886
.
อย่าลืมกดไลก์👍🏼เพจตราหญิงงามด้วยนะคะ
https://www.facebook.com/yingngamgroup/
.
หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือต้องการคำแนะนำ ส่งข้อความถึงทีมงานโดยตรงได้ที่👇🏻
https://lin.ee/dQZO2mQ

สภาพอากาศภาคตะวันออกปี 64 ใช้สารแพคโคลบิวทราซอล แบบไหนตอบโจทย์!?

ทุเรียน 1 ปี ฝังซอมบี้ได้เลย 10 ซีซี


ทุเรียน 1 ปี ฝังซอมบี้ได้เลย 10 ซีซี

ทุเรียน 1 ปี ฝังซอมบี้ได้เลย 10 ซีซี

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Economy

8 thoughts on “วิธีฉีดสารแพคโคลบิลทราโซล ทุเรียนต้นใหญ่ ทำอย่างไร : ต้นไม้และสวน TV | สารพาโคลบิวทราโซล”

  1. 514321 957376Thank you for the great writeup. It in fact was a amusement account it. Look advanced to far added agreeable from you! Nevertheless, how could we communicate? 779649

    Reply

Leave a Comment