สมาทานหรือรับศีลห้า | เบญจศีล

สมาทานหรือรับศีลห้า


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สมาทานหรือรับศีลห้า

สมาทานหรือรับศีลห้า

สรุปเบญจศีล (ศีล5) ข้อควรละเว้น 5 ประการ


สรุปเบญจศีล (ศีล5) ข้อควรละเว้น 5 ประการ
เบญจศีล ศีล5 ข้อห้าม ข้อควรละเว้น BKindStory

สรุปเบญจศีล (ศีล5) ข้อควรละเว้น 5 ประการ

สื่อการเรียนรู้ วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.1 เรื่อง โอวาท 3 เบญจศีล


สื่อการเรียนรู้ วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.1 เรื่อง โอวาท 3 เบญจศีล
http://www.vdolearning.com/vdotutor/socialprathom1videolearning

สื่อการเรียนรู้ วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.1 เรื่อง โอวาท 3 เบญจศีล

เพลง ทำดีได้ดี


▂ ▃ ▄ ▅ ▆ ▇ █ ♫~
ดูรายละเอีียดเพิ่มเติมได้ที่ www.Doctorkidz.com ค่ะ
เพลง ทำดีได้ดี
Hook 1.. จะบอกเธอ ให้รู้ไว้ ทำอย่างไรก็ได้อย่างนั้น
ถ้าทำดีได้ขึ้นสวรรค์ สวรรค์ก็คือสุขใจ
จะบอกเธอ ให้รู้ไว้ ทำอย่างไรก็ได้อย่างนั้น
ทำไม่ดีทุกข์ใจไปนาน ใครๆ เขาก็รังเกียจ
Verse 1.. ฉันแบ่งของเล่นให้เพื่อน ดีนะ ดีนะ ดี (เย้ )
ฉันแย่งของเพื่อนมาเล่น ไม่ดี ไม่ดี อย่าทำ
ฉันช่วยเพื่อนที่หกล้ม ดีนะ ดีนะ ดี (เย้ )
แต่ฉันหัวเราะเยาะเพื่อน ไม่ดี ไม่ดี อย่าทำ นะ
Hook 2.. จะบอกเธอ ให้รู้ไว้ ทำอย่างไรก็ได้อย่างนั้น
ถ้าทำดีได้ขึ้นสวรรค์ สวรรค์ก็คือสุขใจ
จะบอกเธอ ให้รู้ไว้ ทำอย่างไรก็ได้อย่างนั้น
ทำไม่ดีทุกข์ใจไปนาน ใครๆ เขาก็รังเกียจ
Verse 2.. ฉันชอบพูดคำไพเราะ ดีนะ ดีนะ ดี (เย้ )
ฉันก็พูดจาก้าวร้าว ไม่ดี ไม่ดี อย่าทำ
ฉันช่วยแม่ทำงานบ้าน ดีนะ ดีนะ ดี (เย้ )
บางทีฉันรังแกน้อง ไม่ดี ไม่ดี อย่าทำ นะ
Hook 3.. จะบอกเธอ ให้รู้ไว้ ทำอย่างไรก็ได้อย่างนั้น
ถ้าทำดีได้ขึ้นสวรรค์ สวรรค์ก็คือสุขใจ
จะบอกเธอ ให้รู้ไว้ ทำอย่างไรก็ได้อย่างนั้น
ทำไม่ดีทุกข์ใจไปนาน ใครๆ เขาก็รังเกียจ
……….ทำดีก็จะได้ดี ………

See also  บริหารคนอย่างไรให้ Lean และ Agile สิ่งที่ HR ต้องเลิก-เริ่มทำเดี๋ยวนี้ | The Secret Sauce EP.268 | ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง

เพลง ทำดีได้ดี

เบญจศีล และ เบญจธรรม


เบญจศีล และเบญจธรรม
หนังสือเบญจศีลเบญจธรรมนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซึ่งเป็นโอรสของ ร.๕ และเจ้าจอมมารดาแพ ได้เป็นผู้แต่งขึ้น โดยรวบรวมจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
จุดประสงค์ของการแต่งหนังสือเล่มนี้ คือ เพื่อมุ่งสำหรับใช้เป็นแบบสอนธรรมปฏิบัติแก่นักเรียนผู้อยู่ในโรงเรียน ถึงคนเราจะมีความรู้ดี แต่มีความประพฤติเสียหาย ก็จะได้รับความเดือดร้อนเรื่อยไป
อีกประการหนึ่ง หนังสือเล่มนี้ยังเป็นแบบสำหรับแนะนำชายหญิงทั่วไป เพื่อให้มีความประพฤติถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนาที่เรานับถืออีกด้วย
คำว่า \”ศีล\” ได้แก่ ข้อประพฤติข้อปฏิบัติสำหรับควบคุมกาย และวาจา ให้ตั้งอยู่ในความดีงาม นอกจากนี้ \”ศีล\” ยังแปลได้อีกหลายอย่าง เช่น แปลว่า เย็น ศีรษะ เกษม สุข อดทน ความสำรวม ความไม่ก้าวล่วงละเมิด เป็นต้น
ผู้ที่ถือศีล ย่อมได้รับอานิสงส์ อย่างนี้ คือ
๑. ไม่ต้องประสบความเดือดร้อนในภายหน้า
๒. ย่อมประสบความสำเร็จในการทำมาหากิน
๓. ชื่อเสียงเกียรติยศของผู้มีศีล ย่อมแพร่หลายไปในหมู่นรชน (ในหมู่คนดี)
๔. ย่อมเป็นผู้องอาจ ไม่เก้อเขิน เมื่อเข้าไปในหมู่ของผู้มีศีล
๕. เป็นผู้ไม่หลงทำกาลกิริยา คือ ก่อนตายก็มีสติ ตายไปอย่างสงบ ไม่ทุรนทุราย
๖. เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ไม่ต้องตกนรก
๗. ผู้ที่บำเพ็ญศีลให้บริบูรณ์ มีสติบริบูรณ์ ย่อมทำตนให้สิ้นอาสวะได้ คือ สิ้นกิเลสได้
ศีลในทางพระพุทธศาสนามีการจัดอันดับข้อ ดังต่อไปนี้
ศีล ๕ ข้อ สำหรับสาธุชนทั่วไปมีชื่อเรียกว่า นิจศีล ปกติศีล
ศีล ๘ ข้อ สำหรับ อุบาสก อุบาสิกา มีชื่อเรียกว่า คหัฏฐศีล
อุโบสถศีล ๑๐ ข้อ สำหรับ สามเณร สามเณรี มีชื่อเรียกว่า อนุปสัมปันนศีล
ศีล ๒๒๗ ข้อ สำหรับ พระภิกษุ มีชื่อเรียกว่า ภิกขุศีล
ศีล ๓๑๑ ข้อ สำหรับ พระภิกษุณีมีชื่อเรียกว่า ภิกขุณีศีล
เบญจศีล คือ ศีล ๕ ได้แก่
๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากฆ่าสัตว์มีชีวิต
๒. อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากการประพฤติผิดในกาม
๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากการกล่าวเท็จ
๕. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี เว้นจากการดื่มน้ำเมา คือ สุรา และเมรัย
เบญจธรรม คือ ธรรม ๕ ข้อ
๑. เมตตา กรุณา คู่กับ ศีลข้อที่ ๑
๒. สัมมาอาชีวะ คู่กับ ศีลข้อที่ ๒
๓. ความสำรวมในกาม คู่กับ ศีลข้อที่ ๓
๔. ความมีสัตย์ คู่กับ ศีลข้อที่ ๔
๕. ความมีสติรอบคอบ คู่กับ ศีลข้อที่ ๕
ศัพท์ที่ควรรู้
คำว่า \”ธรรม\” ได้แก่ สภาพที่ทรงไว้ หมายความว่า ทรงสัตว์ผู้ปฏิบัติธรรมไว้ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว
\”กัลยาณชน\” ได้แก่ คนที่ตั้งอยู่ในกัลยาณธรรม เป็นคนมีความประพฤติงาม เป็นที่นิยมนับถือของคนทั่วไป
ข้อความเบื้องต้น
มนุษย์ที่เกิดมาในโลกนี้ ย่อมมีรูปพรรณสัณฐานเป็นต่างๆ กัน บางคนก็มีรูปงาม บางคนก็มีรูปทราม ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่เหตุจะตกแต่งให้
เหตุดีก็ตกแต่งให้มีรูปงาม เหตุชั่วก็ตกแต่งให้มีรูปทราม เพราะเลือกเอาตามใจหวังไม่ได้ คนมีรูปงามก็เป็นที่นิยมชมชอบของผู้พบเห็น ถ้ามีรูปเลวทรามก็ตรงกันข้าม
เหมือนดอกไม้ที่งามและไม่งาม ถ้าเป็นดอกไม้งามและมีกลิ่นหอม ก็ย่อมเป็นที่ชอบใจของคนทั่วไป ถ้าเป็นดอกไม้ไม่งามทั้งไร้กลิ่นหอมด้วยแล้ว ยิ่งไม่มีคนปรารถนาเลย
คนเราก็เช่นเดียวกัน ถ้ารูปงามน้ำใจดี ย่อมเป็นที่รักใคร่นิยมชมชอบของผู้พบเห็น ถ้ารูปงามหากไร้คุณธรรมประจำใจ ก็สู้คนรูปชั่วเลวทราม แต่มีคุณธรรมประจำใจไม่ได้
รูปพรรณสัณฐานได้มาอย่างไร ย่อมเป็นอยู่อย่างนั้น ดัดแปลงแก้ไขไม่ได้ แต่ใจนั้นก็มักเป็นไปตามพื้นเดิม ถึงอย่างนั้นก็ยังมีทางแก้ไขได้ ด้วยความตั้งใจอันดีเหมือนของที่ไม่หอมมาแต่เดิม เขายังอบให้หอมได้
แต่ธรรมดาใจนั้นมักผันแปรไม่แน่นอนมั่นคงลงได้ นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้า เป็นต้น จึงได้กำหนดวางแบบแผนความประพฤติไว้เป็นหลักฐาน
การตั้งใจประพฤติตามบัญญัตินั้น ชื่อว่า \”ศีล\” ศีลนี้เป็นแนวทางสำหรับให้คนประพฤติความดี คนเราแรกจะประพฤติความดี ถ้าไม่ถืออะไรเป็นหลัก ใจย่อมไม่มั่นคง อาจเอนเอียงไปหาทุจริตอีกได้ เพราะโมหะครอบงำ
เมื่อบำเพ็ญศีลให้บริบูรณ์เป็นปกติมารยาทได้แล้ว ถึงจะประพฤติคุณธรรมอย่างอื่น ก็มักยั่งยืน ไม่ผันแปร นี้แลเป็นประโยชน์แห่งการบัญญัติศีลขึ้น
ความมุ่งหมายอันดับแรกพึงรู้ว่า การรักษาศีล หรือที่เรียกว่า \”เบญจศีล\” นี้ เป็นการรักษาตนเอง เป็นการป้องกันตนเอง ไม่ให้เสียคน หรือที่เรียกว่า เสียตัว
เพราะตัวเราแต่ละคนนั้น เป็นของหายากและมีจำกัด คือ มีตัวเดียวเท่านั้น ไม่มีตัวแทน อยู่ก็อยู่หมด เสียก็เสียหมด เป็นพระก็เป็นหมด เป็นโจรก็เป็นหมด หรือเข้าคุกก็เข้าหมด เช่นเดียวกัน
การรักษาศีลห้านั้น มีความมุ่งหมายก็คือ ให้รักษาตนเองไว้ไม่ให้เสียหาย และยังมีผลพลอยได้อีกมากทั้งครอบครัว ทางสังคม ประเทศชาติ และเป็นพื้นฐานให้ตนเองบำเพ็ญ สมาธิปัญญา จนได้มรรคผล นิพพาน
พึงทราบว่าคนไม่มีศีล ย่อมไม่อาจบำเพ็ญ สมาธิปัญญา ให้ได้ผลเต็มที่ได้ฯ
หลักสำคัญในการรักษาศีล
ผู้ที่จะรักษาศีล พึงทราบหลักในทางวิชาการ และทางปฏิบัติ โดยย่อ คือ
๑. ความมุ่งหมายในการรักษาศีลห้า
๒. ข้อห้ามของผู้รักษาศีลห้า
๑. ความมุ่งหมายในการรักษาศีลห้า
ดังได้กล่าวมาแล้วว่า การรักษาศีลห้ามีความมุ่งหมายในการป้องกันตนไม่ให้เสียหาย ของทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะดีหรือจะเสีย จะคงทนถาวรหรือชำรุดหักพังโดยง่าย สำคัญอยู่ที่พื้นฐานของสิ่งนั้น
ฉะนั้น ช่างก่อสร้างที่เขาจะสร้างตึก จึงต้องตอกเสาเข็มลงรากตรงจุดที่จะรับน้ำหนักไว้แข็งแรง
ชีวิตของคฤหัสถ์ก็เช่นเดียวกัน ต้องแบกน้ำหนัก เพราะเรื่องครอบครัว เรื่องหน้าที่การงาน เรื่องยากดีมีจน ความสุขความทุกข์ร้อยแปด จำจะต้องสร้างพื้นฐานของชีวิตให้มั่นคง จึงจะรับน้ำหนักไว้อย่างปลอดภัย
เราคงจะเคยเห็นคนที่มีพื้นฐานชีวิตไม่ดีพอ พอตนจะต้องรับภาระหรือกระทบกระแทกเข้า เลยต้องกระทำความผิดถึงติดคุกติดตะรางก็มี นั่นแสดงความที่ชีวิตพังทลายไป น่าเสียดายมาก

See also  ไทยแลนด์ 4.0 - รู้จักกับ Thailand 4.0 | iT24Hrs | ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0
See also  [Update] | บทความ เกี่ยว กับ กฎหมาย - Sathyasaith

เบญจศีล และ เบญจธรรม

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆEconomy

11 thoughts on “สมาทานหรือรับศีลห้า | เบญจศีล”

  1. 819546 997031Exceptional weblog here! Also your web web site loads up quickly! What host are you using? Can I get your affiliate link to your host? I wish my website loaded up as quickly as yours lol 337328

    Reply
  2. 11753 440197This really is a great common sense article. Quite valuable to 1 who is just discovering the resouces about this part. It will undoubtedly aid educate me. 957588

    Reply
  3. 702076 981842Youre so cool! I dont suppose Ive learn anything like this before. So good to locate any person with some authentic thoughts on this subject. realy thank you for starting this up. this internet site is something that is wanted on the internet, someone with a little bit originality. useful job for bringing something new to the internet! 960285

    Reply

Leave a Comment