Table of Contents
เกรี้ยวกราด กับ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | ผลงานลุงตู่
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กับ 30 บาทรักษาทุกโรค
มันอันเดียวกันไม่ใช่รึ
แต่จะคำไหนก็ไม่สำคัญเท่าสุขภาพของประชาชน
คุณภาพและบริการทางด้านสาธารณสุขที่ให้แก่ประชาชน
ตอนนี้มันดีหรือยัง…
การจัดสรรงบประมาณ 5 ปีมานี้ ทำไมรู้สึกว่า
ท่านพร้อมจะเอาเงินของเรา ไปทำเรื่องที่เราไม่ต้องการตลอดเวลา
เป็นประเทศที่รัฐบาลดูแลเราน้อยอยู่แล้ว
ทำไมยังต้องมาเกรี้ยวกราดทุกครั้งที่ไปโรงบาลอีก…
echo ประกันสุขภาพ 30บาทรักษาทุกโรค
กดติดตามช่อง YouTube echo เพื่อรับชมรายการใหม่ๆได้ที่
https://www.youtube.com/channel/UCeIIIzRsI9tSjosNEzdnyPA?sub_confirmation=1
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สบ.เทียบเข้า มมส.
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำคัญอย่างไร?
สกู๊ปเรื่อง \”หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า\” : สัมภาษณ์ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก (WHO)
ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำคัญอย่างไร ทำไมต้องมี Dr.Tedros Adhanom Ghebreyesus ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก
ที่มา : รายการที่นี่ Thai PBS (8 ก.พ. 61)
CHULA MOOC | ระบบประกันสุขภาพ : Health Insurance System
Health Insurance System : ระบบประกันสุขภาพ จะมีเนื้อหานำเสนอเกี่ยวกับหลักการประกันสุขภาพ การแบ่งประเภทของประกันสุขภาพ องค์ประกอบในการประกันสุขภาพ และการเข้าถึงการประกันสุขภาพในประเทศไทย การตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล ขั้นตอนการเข้ารับการรักษาพยาบาล และสิทธิประโยชน์อื่นๆ เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนต่อไป
ดูรายละเอียดวิชาเพิ่มเติมได้ที่
https://mooc.chula.ac.th/courses/69
สสส. กับการสร้างเสริมสุขภาพ
สสส. กับการสร้างเสริมสุขภาพ
ในปัจจุบัน “โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” หรือ NCDs ได้กลายเป็นภัยคุกคามทางสุขภาพหลักของประชากรโลก
จากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตจาก “กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิตของประชากรไทยทั้งหมด
โรคเหล่านี้ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ แต่เกิดจากปัจจัยภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การขาดกิจกรรมทางกาย โภชนาการที่ไม่เหมาะสม ความเครียด หรือการกินเหล้าสูบบุหรี่
จะลดพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ได้ก็ต้องชี้ให้ประชาชนตระหนึกถึงความสำคัญ และให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ตลอดจนพัฒนาปัจจัยอื่นๆ ที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น สิ่งแวดล้อม การศึกษา โครงสร้างทางกฎหมาย เป็นต้น เราเรียกมาตรการเหล่านี้ว่า “การสร้างเสริมสุขภาพ”
เนื่องจากมีประเด็นที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก การทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้องมากมาย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. จึงถือกำเนิดขึ้นโดยนอกจากจะทำหน้าที่จัดสรรทุนเพื่อดำเนินการในโครงการสร้างเสริมสุขภาพต่างๆ แล้ว สสส. ยังทำหน้าที่เป็นกลไกเชื่อมต่อระหว่างองค์กร ชุมชน และบุคคลต่างๆ เปรียบเสมือนน้ำมันหล่อลื่นที่ช่วยให้ฟันเฟืองหลักของการทำงานสร้างเสริมสุขภาพขับเคลื่อนไปได้
หัวใจสำคัญ ที่เป็นหลักของการทำงานของ สสส. มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง คือหลักพันธกิจ 4 ประการ ได้แก่
1) จุดประกาย ให้เกิดความสนใจ และอยากมีส่วนร่วม
2) กระตุ้น ให้งานขับเคลื่อนไป และติดตามประเมินผล
3) สาน ประสานงานระหว่างบุคคลและองค์กรต่างๆ
4) เสริมพลัง สนับสนุนภาคีเครือข่าย ด้วยทรัพยากรในทุกๆ ด้าน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ในฐานะผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อสุขภาวะ สสส. จะทำงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับคนไทยทุกคน
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Investement
175071 827665Oh my goodness! an incredible article dude. Thanks a ton Even so We are experiencing problem with ur rss . Dont know why Cannot enroll in it. Can there be any person locating identical rss dilemma? Anyone who knows kindly respond. Thnkx 844334
550652 12504Merely a smiling visitor here to share the adore (:, btw wonderful pattern . 805824
401589 273050You made some decent points there. I looked online for that difficulty and identified many people goes coupled with with all your internet site. 337400
440809 498211Thank you for sharing with us, I conceive this web site truly stands out : D. 322192
282232 744300Hi there! I just want to give a huge thumbs up for the great data you could have proper here on this post. I will likely be coming once more to your weblog for far more soon. 606328
337800 793552Thanks for taking the time to discuss this topic. I genuinely appreciate it. Ill stick a link of this entry in my weblog. 122050