Table of Contents
The Market Risk Premium
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
This video discusses the market risk premium.
The market risk premium is the amount by which the expected market return exceeds the riskfree rate. Thus, the market risk premium is the excess return of the market. The market risk premium is calculated as follows:
market risk premium = expected market return riskfree rate
Thus, if the expected market return is 11% and the riskfree rate is 2%, the market risk premium would be 9%.
The market risk premium is the reward that investors expect to earn for holding a portfolio with a beta of one (the market portfolio).
The market risk premium is important because we can use it to calculate the risk premium for an individual security with the Capital Asset Pricing Model. The market risk premium is actually the slope of the Security Market Line (the Security Market Line is the line that plots the Capital Asset Pricing Model).—
Edspira is the creation of Michael McLaughlin, an awardwinning professor who went from teenage homelessness to a PhD. Edspira’s mission is to make a highquality business education accessible to all people.
—
SUBSCRIBE FOR A FREE 53PAGE GUIDE TO THE FINANCIAL STATEMENTS, PLUS:
• A 23PAGE GUIDE TO MANAGERIAL ACCOUNTING
• A 44PAGE GUIDE TO U.S. TAXATION
• A 75PAGE GUIDE TO FINANCIAL STATEMENT ANALYSIS
• MANY MORE FREE PDF GUIDES
http://eepurl.com/dIaa5z
—
HIRE MICHAEL MCLAUGHLIN, PHD, CPA
https://michaelmclaughlin.com/hireme
—
GET CERTIFIED IN FINANCIAL STATEMENT ANALYSIS, IFRS 16, AND ASSETLIABILITY MANAGEMENT
https://edspira.thinkific.com
—
LISTEN TO THE SCHEME PODCAST
Apple Podcasts: https://podcasts.apple.com/us/podcast/scheme/id1522352725
Spotify: https://open.spotify.com/show/4WaNTqVFxISHlgcSWNT1kc
Website: https://www.edspira.com/podcast2/
—
GET TAX TIPS ON TIKTOK
https://www.tiktok.com/@prof_mclaughlin
—
ACCESS INDEX OF VIDEOS
https://www.edspira.com/index
—
CONNECT WITH EDSPIRA
Facebook: https://www.facebook.com/Edspira
Instagram: https://www.instagram.com/edspiradotcom
LinkedIn: https://www.linkedin.com/company/edspira
—
CONNECT WITH MICHAEL
Twitter: https://www.twitter.com/Prof_McLaughlin
LinkedIn: https://www.linkedin.com/in/profmichaelmclaughlin
—
ABOUT EDSPIRA AND ITS CREATOR
https://www.edspira.com/about/
TRUE ควบ DTAC กสทช. หรือใครรับผิดชอบ ผู้บริโภคเลือกได้ไหม | Executive Espresso EP.296
ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ อีกต่อไปแล้วสำหรับดีล TRUE รวม DTAC เมื่อเหล่านักวิชาการ และองค์กรอิสระหลายแห่ง (เว้น Regulators ที่เกี่ยวข้องโดยตรง) ต่างก็แสดงความกังวลที่มีต่อการควบรวมกิจการที่อาจจะเกิดขึ้นในครั้งนี้ว่า มีแนวโน้มจะนำไปสู่การผูกขาดการแข่งขัน โดยเฉพาะเมื่อผู้เล่นในตลาดลดจาก 3 เหลือ 2 ราย ซึ่งจะทำให้ผู้บริโภคอย่างเราและประเทศไทยเสียหายมหาศาล
เมื่อสถานการณ์น่ากังวลเช่นนี้ The Secret Sauce ตอนนี้จึงอยากชวนคุณมาสำรวจความเห็นของ สฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระด้านเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อให้เห็นมิติที่ลึกขึ้นไปอีกขั้นว่า ทำไมการลดผู้บริการลงจาก 3 เหลือ 2 รายถึงไม่ใช่เรื่องที่ควรปล่อยผ่าน แล้วหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเข้ามากำกับหรือดูแลเพื่อให้ไม่เกิดการผูกขาดในโครงสร้างขั้นพื้นฐานของประเทศด้วยวิธีไหน
Time Index
00:00 Start
00:54 เกริ่นนำ
02:47 จาก 3 เหลือ 2 เมื่อโทรคมนาคมไทยกำลังเข้าสู่การเป็น ‘Duopoly’
06:53 โมเดลควบรวมกิจการ Telco ในต่างประเทศ
13:05 สถานการณ์ประเทศไทยต่อจากนี้
20:16 เหตุใด กสทช. ถึงยังไม่ขยับตัว
22:13 ผู้บริโภคอย่างเรา หรือ Regulator ทำอะไีรได้บ้างถ้าไม่สบายใจ
24:21 บทบาทฝ่ายบริหาร รัฐบาลไทยต่อดีลนี้
27:58 มุมมองจากฝั่งบริษัทเทคโนโลยี สเกลอัพเพื่อแข่งขัน
31:57 นักลงทุนกับการเข้ามามีส่วนร่วม
33:34 ปัญหาเชิงโครงสร้างประเทศไทย
37:23 ‘ผูกขาด’ สะท้อนสภาวะประชาธิปไตยประเทศ
———————————————
ติดตาม The Secret Sauce ในช่องทางอื่นๆ
Spotify http://bit.ly/tssspotify
Apple Podcasts http://bit.ly/tssapple
Google Podcasts http://bit.ly/tssggpod
PodBean http://bit.ly/tsspodbean
Website http://bit.ly/webtss
Facebook https://www.facebook.com/TheSecretSauceTH
Facebook Group https://www.facebook.com/groups/643054436428079
ExecutiveEspresso TheSecretSauce TheStandardPodcast TheStandardCo TheStandardTH
อัตราคิดลด, Equity Risk Premium, เบต้า, Risk-Free, CAPM, Required rate of return คืออะไร หาจากไหน?
อันนี้เป็นคำถามที่ต่อเนื่องมาจากวีดิโอหัวข้อ Discounted Cash Flow มีคนถามว่าตัวเลข required rate of return on equity ที่ใช้คิดลด 13% นั่นมาจากไหน ในวีดิโอนั่นผมสมมติตัวเลขขึ้นมาเฉยๆครับ ในวีดิโอนี้เรามาคุยกันในรายละเอียดเพิ่มเติมว่าตัวเลขนี้เอามาจากไหน
Link Video Discounted Cash Flow : https://www.youtube.com/watch?v=GJwSPsFFdWg
สาระสำคัญของตัว required rate of return on equity คือมันเป็นอัตราผลตอบแทนที่ต่ำที่สุดที่นักลงทุนควรจะคาดหวังได้เพื่อให้ยินดีที่จะถือหุ้นนั้นๆ ซึ่งมันก็ควรจะสอดคล้องกับระดับของความเสี่ยงของการถือหุ้นนั้นๆว่างั้นเถอะ ปกติก็จะมีวิธีหลักๆคือ CAPM กับ Multifactor model
1. CAPM
หลักการของ CAPM ก็คือบอกว่า
required rate of return on equity = Risk free rate + (Equity risk premium x Beta)
Risk free rate หรือผลตอบแทนที่ไม่เสี่ยงเลยนี่ก็เอาจากพันธบัตรรัฐบาล http://www.thaibma.or.th/EN/Market/YieldCurve/Government.aspx ปัจจุบันก็ยังมีเถียงกันอยู่ว่าใช้ผลตอบแทนระยะสั้นหรือระยะยาว แต่โดยปกติถ้าเอาไว้คิดลดเงินในอนาคตหลายปีก็จะนิยมใช้ระยะยาวให้สอดคล้องกัน
Equity risk premium หรือก็คือส่วนต่างระหว่างผลตอบแทนของตลาดหุ้นโดยรวมกับผลตอบแทนที่ไม่เสี่ยงเลย มันมีวิธีได้มาหลักๆอยู่ 2 แบบคือใช้ Historical (ข้อมูลจริงดูย้อนหลัง) หรือไม่ก็ใช้ ForwardLooking (คาดการณ์อนาคต) ซึ่งเอาจริงๆเราทำเองยากเพราะก็ไม่มีข้อมูลหรือไม่ก็ต้องนั่งเดาตัวแปรซึ่งลำบากชีวิต เราใช้ที่คนอื่นทำไว้แล้วละกัน อันนี้เป็นของคุณ Aswath Damodaran http://pages.stern.nyu.edu/~adamodar/New_Home_Page/datafile/ctryprem.html
Beta หรือก็คือหุ้นที่เราดูอยู่โดยเฉลี่ยแล้วมีการขยับอย่างไรเมื่อเทียบกับตลาด CAPM มองตัวนี้เป็นตัวบ่งชี้ว่าหุ้นเสี่ยงมากกว่าหรือน้อยกว่าตลาดโดยเฉลี่ย หาได้โดยการทำ Regression ซึ่งเราคงไม่ทำเอง ไปดูได้บนเวป www.investing.com หรือ www.morningstar.com ก็ได้ สองอันนี้น่าจะเป็นข้อมูลรายเดือนระยะเวลา 5 ปีทั้งคู่
ในตัวอย่างเราได้ว่า required rate of return ของ CPALL = 1.56%+(6.77%x0.78) = 6.84%
2. Multifactor model
อันนี้มันก็มีขึ้นมาหลังจากเค้าพบว่าการใช้ Beta ของ CAPM มันยังสะท้อนความเสี่ยงของหุ้นได้ไม่สมบูรณ์ก็เลยมีคนพยายามหาตัวแปรอื่นๆเข้ามา ที่ดังก็จะมี FamaFrench คือใช้ตัวแปร 3 ตัวคือ Equity risk premium, smallcap risk premium กับ value premium ซึ่งผมก็ไม่รู้ว่าถ้าจะต้องทำจริงๆจะเอาข้อมูลมาจากไหนนะ
จะเห็นได้ว่าการหา required rate of return on equity เอาจริงๆก็ไม่ได้มีวิธีการเดียวที่ชัดเจนขนาดนั้น ดังนั้นก็อย่างที่บอกแหละว่าการประมาณมูลค่าของบริษัทยังไงมันก็ไม่มีวิธีไหนแม่น เราต้องเข้าใจข้อจำกัดมันและใช้มันให้ถูกต้องในฐานะเครื่องมือในการกะอย่างคร่าวๆครับ
ฟังแล้วเป็นยังไงบ้าง Comment ได้เลยนะครับ
ติดตามข่าวสารเราได้บน Facebook
https://www.facebook.com/smartstockinvestment/
หรืออ่านบทความอื่นๆของเราได้บนเวป
http://www.adisonc.com/stockinvestmentarticles/
CAPM คืออะไร? ความเสี่ยงและผลตอบแทนสัมพันธ์กันอย่างไร? เอามาใช้คิดราคาหุ้นได้ไหม?
ลงทุนอะไรดี? ทำความรู้จักกับพื้นฐานการลงทุน CAPM (Capital asset pricing model)
การลงทุนมีความเสี่ยง เป็นคำที่ใครหลายๆคนเคยได้ยิน แต่การลงทุนต่างๆ นั้นมีความเสี่ยงแตกต่างกันออกไป ดังคำกล่าวที่ว่า High Risk, High Return ถ้าความเสี่ยงมาก ผลตอบแทนก็ควรจะต้องมากเช่นกัน ไม่งั้นจะเสี่ยงไปทำไม ใช่มั้ย? CAPM คือโมเดลที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงของหุ้นและผลตอบแทนที่ควรได้รับ ซึ่งถ้าผมเปิดสมการนี้ให้ดู หลายๆคนที่ไม่ชอบสมการอาจจะปิดหนีเลยก็ได้ อย่าเพิ่งปิดครับ เราลืมสมการนี้ไปก่อน แล้วมาดูภาพง่ายๆกันดีกว่าเนาะ
Rf หรือ Risk Free คืออะไร?
อันดับแรกผมขอพูดถึงการลงทุนแบบไร้ความเสี่ยงก่อน(จริงๆอาจจะเสี่ยงบ้างแต่น้อยมาก) ซึ่ง เราจะเรียกการลงทุนนี้ว่า “risk free” เช่น อะไรครับ? ฝากธนาคาร ประจำ ออมทรัพย์ พันธบัตรรัฐบาล เป็นต้นน่ะครับ พวกนี้แทบจะไม่เสี่ยงเลย เงินคุณไม่ลดแน่นอนครับ โดยเวลาที่เราเอาเงินไปฝากธนาคารเราก็หวังจะได้ดอกเบี้ยใช่ไหม ดอกเบี้ยนี้ภาษาอังกฤษเขาเรียกว่า “interest”
ลงทุนในหุ้นดีไหม?
ถ้าเราไม่ฝากแบงค์ เราไปลงทุนในหุ้น ผลตอบแทนที่เราจะได้มันจะไม่ใช่ดอกเบี้ยคับ เพราะเราไม่ได้เป็นเจ้าหนี้แล้วแต่เราเป็นเจ้าของร่วม ฝรั่งจะเรียกว่า “Expected Return” แปลว่า ผลตอบแทนที่เราคาดหวังนั่นเอง โดยผลตอบแทนของหุ้นนั้นส่วนใหญ่เราจะได้เป็น Captical gain/loss (ส่วนต่างมูลค่าหุ้น) หรือ Dividend (เงินปันผล) นั่นเอง เริ่มผูกเข้ากับ High Risk, High Return ได้หรือยังครับ แล้วเสี่ยงแค่ไหนถึงเรียกสูง เสี่ยงแค่ไหนปานกลาง แล้วเราควรจะได้ผลตอบแทนเท่าไรจากการลงทุนในหุ้นๆนึง ที่ไม่ได้อยู่ใน SET100(ใครไม่รู้จัก Set100 ยกมือขึ้นคับ) ผมเชื่อว่าคนที่มาดูช่องนี้ควรจะต้องมีความรู้พื้นฐานมาบ้างแล้ว การลงทุนในหุ้น SET 100 นั้น ตามทฤษฎีแล้วถือว่ามีความเสี่ยงปานกลาง ถือว่าเป็นหุ้นที่ปัจจัยพื้นฐ่านค่อนข้างแน่น แน่นหมายถึงไม่เจ๊งง่ายๆ โดยทั่วๆไปก็ไม่ควรได้ผลตอบแทนต่ำกว่า 8% นะครับ
หุ้นความเสี่ยงสูง
เรากำลังพูดถึงหุ้นที่มีความเสี่ยงสูงกว่าหุ้นทั่วๆไปในตลาด ซึ่งก็ต้องได้ผลตอบแทนที่สูงกว่าโดยจะเอา Risk Premium คูณกับค่าเบต้าเข้าไป เพื่อให้ผลตอบแทนมันสูงขึ้นนะคับ(ไม่เอา Risk Free คูณเข้าไปนะ ไม่งั้นสูงเว่อ) ทีนี้ก็ใส่ในสูตรก็ได้ Cost of Equity มาแล้วคับ
Risk Premium- Inflation, Maturity Risk, Default Risk and Liquidity Risk
Components of Risk premium, explanation of Inflation, Maturity Risk, Default Risk and Liquidity Risk.
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆInvestement
630465 48287There is noticeably a whole lot to know about this. I believe you created some nice points in capabilities also. 344067
566960 754224You ought to be really astute at research and writing. This shows up inside your original and unique content material. I agree together with your primary points on this topic. This content material need to be seen by much more readers. 575171
310427 266408Have you noticed the news has changed its approach lately? What used to neve be brought up or discussed has changed. Its that time to chagnge our stance on this though. 436548
628629 15635Right after examine a couple of of the weblog posts on your web site now, and I genuinely like your manner of blogging. I bookmarked it to my bookmark site record and will probably be checking back soon. Pls take a look at my web page as effectively and let me know what you think. 597722
468085 644670conclusion that you are totally appropriate but some require to be 759933
418725 376535Id require to verify with you here. Which is not 1 thing I usually do! I take pleasure in reading a submit that will make individuals think. Furthermore, thanks for permitting me to remark! 734456
931465 448336Oh my goodness! an superb post dude. A lot of thanks Nevertheless We are experiencing problem with ur rss . Dont know why Not able to sign up to it. Could there be anybody obtaining identical rss dilemma? Anyone who knows kindly respond. Thnkx 164144
568004 609752When visiting blogs, i usually discover a extremely good content like yours 676701
637126 762502An attention-grabbing dialogue is worth comment. I believe that it is finest to write extra on this subject, it wont be a taboo subject however normally individuals are not sufficient to speak on such topics. To the next. Cheers 100570
263368 609236I truly got into this write-up. I found it to be fascinating and loaded with special points of interest. I like to read material that makes me believe. Thank you for writing this excellent content. 163920